คำศัพท์

คำศัพท์

บทที่ 1 การติดตั้งโปรแกรม SQL Server และแนะนำ SQL Server

คำศัพท์

ความหมาย

Local Installation

การติดตั้งลงในเครื่องที่กำลังใช้อยู่

Remote Installation

การติดตั้งลงบนเครื่องอื่นที่อยู่ในเน็ตเวิร์กเดียวกัน

Unattended Installation

การติดตั้งโดยที่ไม่ต้องป้อนรายละเอียดในขณะที่ติดตั้ง แต่ใส่รายละเอียดเหล่านั้นไวในไฟล์ จากนั้นโปรแกรมติดตั้งจะอ่านข้อมูลจากไฟล์นี้ให้เองโดยอัตโนมัติ

Replicate

เสมือนหนึ่งการทำสำเนาหรือก๊อปปี้ข้อมูลจากเครื่องต้นทางไปยังเครื่องปลายทาง

Case-Insensitive

ไม่สนใจตัวอักษรพิมพ์เล็กหรือพิมพ์ใหญ่ถือว่าไม่แตกต่างกัน

Accent-Insensitive

ไม่สนใจตัวอักษรที่ใส่เครื่องหมายควบคุมกำกับการออกเสียงต่างๆ ถือว่าไม่แตกต่างกัน

Width-Insensitive

ไม่สนใจความกว้างของอักษร ใช้กับภาษาของชาวเอเชียตะวันออก

Kana-Insensitive

ไม่สนใจตัวอักษร Kana ใช้ในภาษาญี่ปุ่น

Name Pipes

เป็นค่าดีฟอลต์ เป็นวิธีในการติดต่อระหว่างเซิร์ฟเวอร์และไคลเอนต์โดยระบุในลักษณะของพาธ

TCP/IP Sockets

เป็นวิธีในการติดต่อระหว่างไคลเอนต์และเซิร์ฟเวอร์อีกแบบหนึ่ง ใช้สำหรับเซิร์ฟเวอร์ที่เป็น Windows 95/98

Multi-Protocol

เป็นค่าดีฟอลต์ เป็นโปรโตคอลสำหรับการติดต่อสื่อสารที่ใช้ RPC (Remote Procedure Call)

NWLink IPX/SPX

เป็นโปรโตคอลสำหรับติดต่อกับไคลเอนต์ที่เป็น Netware

Apple Talk ADSP

เป็นโปรโตคอลสำหรับการติดต่อกับไคลเอนต์ที่เป็น Apple Macintosh

Banyan VINES

สนับสนุนการทำงานของระบบของ Banyan VINES Sequenced Packet Protocol (SPP) สำหรับการทำงานบนเน็ตเวิร์กของโปรโตคอล Banyan VINES IP

Start Service

การสั่งให้เซอร์วิสนั้นเริ่มทำงาน โดยถ้ามีการสตาร์ทเซอร์วิสใดแล้ว เซอร์วิสนั้นจะมีสถานะเป็น Running

Pause Service

การหยุดเซอร์วิสชั่วคราว เช่น การ Pause เซอร์วิสของ MSSQL Server จะใช้เพื่อไม่ให้มีการติดต่อจากยูสเซอร์เข้ามาที่ SQL Server อีก ทั้งนี้งานที่ติดต่อกันก่อนที่สั่ง Pause นั้นก็ยังทำงานกันตามปกติ และเมื่อต้องการกลับมาใช้งานต่อไปก็ให้ยกเลิกการ Pause โดยสั่งให้ Continue

Stop Service

การปิดเซอร์วิส มีผลทำให้การทำงานที่กำลังใช้เซอร์วิสนั้นหยุดทันที และไม่สามารถทำงานใดๆ ที่ต้องใช้เซอร์วิสนั้นได้

Server group

ชื่อกรุ๊ปที่รีจิสเตอร์ไว้

Query Pane

พื้นที่สำหรับป้อนคำสั่ง Transact-SQL และคำสั่งเอ็กซีคิวต์

Result Pane

ส่วนที่แสดงผลลัพธ์ ซึ่งลักษณะการแสดงผลลัพธ์ทำได้ 2 แบบ คือ แบบ Text หรือแสดงเป็นผลลัพธ์แบบ Grid

New Query

เพิ่มหน้าจอใหม่สำหรับการป้อนคำสั่ง

Batch

ชุดของคำสั่ง Transact-SQL ที่มีมากกว่า 1 คำสั่งและต้องการส่งให้ SQL Server เอ็กซีคิวต์ในคราวเดียวกัน

Stored Procedure

อ็อปเจ็กต์ที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของ Transact-SQL 

Script

กลุ่มคำสั่งมีลักษณะเช่นเดียวกับแบทช์ แต่มีจุดประสงค์เพื่อใช้สร้างและจัดการอ็อปเจ็ต์โดยเฉพาะ

Objects to Script

อ็อปเจ็กต์ทีจะนำมาใช้สร้างสคริปต์

 

 

 

 

 

บทที่ 2 การออกแบบฐานข้อมูลและตาราง

 

คำศัพท์

ความหมาย

Relation

ตาราง 2 มิติที่ประกอบด้วยแถวและคอลัมน์

Attribute

คอลัมน์ในรีเลชั่น

Tuple

แถวในรีเลชั่น

Degree

จำนวนแอททริบิวต์ในรีเลชั่น

Cardinality

จำนวนแอททริบิวต์ในรีเลชั่น

Domain

จำนวนแถวข้อมูลทั้งหมดที่เป็นไปได้ของแอททริบิวต์หนึ่งๆ

Null Value

การกำหนดขอบเขต - ประเภทของข้อมูลหรือค่าของข้อมูลในแอททริบิวต์

Primary Key

ในแอททริบิวต์ไม่มีค่าของข้อมูลอยู่

Composite Key

แอททริบิวต์ที่สามารถเจาะจงแถวใดแถวหนึ่งได้โดยที่มีข้อมูลไม่ซ้ำกันเลย

Candidate Key

แอททริบิวต์มากกว่าหนึ่งแอททริบิวต์มารวมกัน เพื่อให้ไม่มีข้อมูลซ้ำและไม่มีค่าว่าง

Foreign Key

เป็นคีย์ที่มีคุณสมบัติครบถ้วนจนนำมาใช้เป็นคีย์หลักแทนกันได้

E-R MODEL

เป็นแบบจำลองข้อมูล ซึ่งแสดงถึงโครงสร้างของฐานข้อมูล

Entity

สิ่งที่สนใจสามารถระบุได้ในความเป็นจริง และต้องการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องด้วยไว้ในฐานข้อมูล

Strong Entity

เอนทิตี้ปกติที่สนใจและต้องการจัดเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องไว้ในระบบฐาน ข้อมูล ซึ่งการคงอยู่ของเอนทิตี้นี้ไม่เกี่ยวข้องกับเอนทิตี้อื่น

Weak Entity

เอนทิตี้อ่อนแอที่มีการคงอยู่เกี่ยวข้องกับเอนทิตี้อื่นในระบบฐานข้อมูล

Parent Entity

เอนทิตี้อื่นที่มีความสัมพันธ์กับเอนทิตี้อ่อนแอ

Ellipse

รูปวงรี

Simple Attribute

Attribute ที่ไม่สามารถแบ่งแยกย่อยลงไปได้อีก

Composite Attribute

Attribute ที่สามารถแบ่งแยกย่อยลงไปได้อีก

Key Attribute

Attribute หรือกลุ่มของ Attribute ที่มีค่าของข้อมูลในแต่ละสมาชิกของเอนทิตี้ไม่ซ้ำกัน ทำให้สามารถระบุความแตกต่างของแต่ละสมาชิกในเอนทิตี้ได้

Single-Valued Attribute

Attribute ที่มีค่าของข้อมูลในแต่ละสมาชิกของเอนทิตี้ได้เพียงค่าเดียว

Multi- Valued Attribute

Attribute ที่สามารถมีค่าของข้อมูลในแต่ละสมาชิกของเอนทิตี้ได้หลายค่า

Derived  Attribute

Attribute ที่ค่าของข้อมูลในแต่ละสมาชิกของเอนทิตี้ได้มาจากการนำค่าของข้อมูลใน Attribute อื่นที่มีอยู่ในแต่ละสมาชิกของเอนทิตี้มาทำการคำนวณ

Total Participation

ความสัมพันธ์ที่ทุกสมาชิกในเอนทิตี้หนึ่งจะมีข้อมูลใน Attribute หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกหนึ่งเอนทิตี้

Partial Participation

ความสัมพันธ์ที่ทุกสมาชิกในเอนทิตี้หนึ่งเท่านั้นจะมีข้อมูลใน Attribute หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกหนึ่งเอนทิตี้

Relationship

เอนทิตี้ที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างสองเอนทิตี้ขึ้นไป ซึ่งโดยทั่วไปเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ที่มี Attribute ร่วมกันโดยแต่ละความสัมพันธ์จะถูกระบุด้วยชื่อที่อธิบายถึงความสัมพันธ์ นั้นๆ

One to One Relationship

ความสัมพันธ์ที่แต่ละสมาชิกในเอนทิตี้หนึ่งมีความสัมพันธ์กับสมาชิกในอีกหนึ่งเอนทิตี้เพียงสมาชิกเดียว

One to Many Relationship

ความสัมพันธ์ที่แต่ละสมาชิกในเอนทิตี้หนึ่งมีความสัมพันธ์กับสมาชิกในอีกหนึ่งเอนทิตี้มากกว่าหนึ่งสมาชิก

Many to Many Relationship

ความสัมพันธ์ที่สมาชิกมากกว่าหนึ่งสมาชิกในเอนทิตี้หนึ่งมีความสัมพันธ์กับสมาชิกในอีกหนึ่งเอนทิตี้มากกว่าหนึ่งสมาชิก

Redundancy

ปัญหาความซ้ำซ้อนของข้อมูล

Prime Attribute

ทุก Attribute ที่ทำหน้าที่เป็น Relation Key ของ Relation

Nonprime Attribute

Attribute ที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งส่วนใดของ  Relation Key

 

 

 

บทที่ 3 การจัดการฐานข้อมูล

 

คำศัพท์

ความหมาย

Structured Query Language

ภาษาในการสอบถามข้อมูล

The subdivision of sql

ประเภทของคำสั่งในภาษา SQL

Data Definition Language

ภาษาสำหรับการนิยามข้อมูล ประกอบด้วย คำสั่งที่ใช้ในการกำหนดโครงสร้างข้อมูลว่ามีคอลัมน์อะไร แต่ละคอลัมน์เก็บข้อมูลประเภทใด รวมถึงการเพิ่มคอลัมน์ การกำหนดดัชนี การกำหนดวิวหรือตารางเสมือนของผู้ใช้

Data Manipulation Language

ภาษาสำหรับการจัดการฐานข้อมูล ประกอบด้วยคำสั่งที่ใช้ในการเรียกใช้ข้อมูล การเปลี่ยนแปลงข้อมูล การเพิ่มหรือลบข้อมูล

Data Control Language

ภาษาควบคุม ประกอบด้วย คำสั่งที่ใช้ในการควบคุม การเกิดภาวะพร้อมกัน หรือการป้องกันการเกิดเหตุการณ์ที่ผู้ใช้หลายคนเรียกใช้ข้อมูลพร้อมกัน และคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมความปลอดภัยของข้อมูลด้วยการกำหนดสิทธิ์ ของผู้ใช้ที่แตกต่างกัน

Data Type

ชนิดข้อมูล

Maximum File Size

ระบุขนาดของไฟล์สูงสุดที่ขยายได้

Unrestricted Filegrowth

ขยายจนเต็มดิสก์

Restict Filegrowth

กำหนดขนาดของไฟล์สูงสุด

Owner

ชื่อยูสเซอร์ที่สร้างดาต้าเบส

Date Created

วันที่สร้าง

Space Available

เนื้อที่ที่ยังว่างอยู่

Database Options

ออปชั่นของดาต้าเบส

Number of Users

จำนวน Database User ของ Database

Single User

จำกัดการใช้งาน SQL Server ได้ครั้งละ 1 คนเท่านั้น มักจะใช้ตอนกู้ดาต้าเบส Master หรือเปลี่ยนชื่อดาต้าเบส

Read Only

กำหนดให้สามารถอ่านข้อมูลจาก SQL Server ได้เท่านั้น ไม่สามารถเพิ่ม แก้ไข หรือลบข้อมูลในดาต้าเบสได้

dbo use only

กำหนดให้ดาต้าเบสใช้ได้เฉพาะผู้ที่เป็นสมาชิกของ Fixed Database Role หรือ db_owner เท่านั้น ถ้าขณะนั้นยังคงมียูสเซอร์ใช้งานค้างอยู่เขายังสามารถทำงานได้ แต่เมื่อใดที่ยูสเซอร์นั้นเลิกการติดต่อหรือเปลี่ยนไปใช้ดาต้าเบสอื่น ก็จะกลับเข้ามาใช้อีกไม่ได้ จนกว่าจะกำหนดออปชั่นนี้ใหม่ให้เป็น False ส่วนใหญ่มักจะใช้เมื่อทำ Maintenance ระบบ และไม่อนุญาตให้ยูสเซอร์อื่นๆ เข้ามาใช้งานขณะนั้น

ANSI NULL Default

ปกติ SQL Server จะให้ดีฟอลต์ทุกคอลัมน์เป็น NOT NULL แต่ถ้ากำหนดออปชั่นนี้ให้เป็น True ค่าดีฟอลต์จะกลายเป็น NULL

Recursive Triggers

ถ้ากำหนดให้เป็น True จะทำให้การอ้างอิงของทริกเกอร์ที่กระทำกับเทเบิลที่หนึ่งไปยังเทเบิลที่สอง และในเทเบิลที่สองสามารถสร้างทริกเกอร์ให้กระทำย้อนกลับมาที่เทเบิลที่หนึ่ง ได้

Select Inte/Bulk Copy

ยอมทำบางคำสั่งโดยไม่บันทึกลงใน Transaction Log เช่น Select Into และ BCP

Torn Page Detection

เมื่อกำหนดให้เป็น True ระบบจะตรวจสอบแต่ละเพจว่าบันทึกลงดิสก์ถูกต้องสมบูรณ์หรือไม่ ทั้งนี้เพราะขณะที่บันทึกเพจนั้นอาจเกิดไฟดับ หรือระบบล่ม จะทำให้การบันทึกของเพจนั้นไม่สมบูรณ์ ในกรณีที่เซ็ทเป็น True จะทำให้ไม่สามารถรีสโตร์ดาต้าเบสได้ถ้ามีเพจเสียเกิดขึ้น

Auto Close

ถ้ากำหนดให้เป็น True ระบบดาต้าเบสจะปิดดาต้าเบสถ้าไม่มีคนใช้งาน และถ้ามีคนขอเข้ามาใช้ดาต้าเบสอีก ระบบก็จะเปิดให้ใช้โดยอัตโนมัติ ค่าดีฟอลต์จะกำหนดให้เป็น True เมื่อใช้ SQL Server ที่เป็นรุ่น Desktop Edition ส่วนรุ่นอื่นๆ จะกำหนดให้เป็น Fault เพื่อจัดการไฟล์ดาต้าเบสได้ในแบบเดียวกันกับไฟล์ทั่วๆ ไป เช่น ก็อปปี้ แต่วิธีการนี้ไม่เหมาะกับงานที่มีทรานแซคชั่นมากๆ

Auto Create Statistics

เมื่อกำหนดให้เป็น True ระบบจะจัดทำตัวเลขสถิติให้กับคอลัมน์ของเทเบิลที่มีการคิวรีโดยใช้ WHERE Clause เพื่อใช้ปรับประสิทธิภาพการดึงข้อมูลให้เร็วขึ้น

Auto Shrink

เมื่อกำหนดให้เป็น True ระบบจะตรวจสอบดาต้าเบสและ Transaction Log ถ้าพบว่ามีเนื้อที่ว่างมากกว่า 25 เปอร์เซ็นต์จะทำการลดขนาดของดาต้าเบสโดยอัตโนมัติ สำหรับการลดขนาดของ Transaction Log จะไม่ทำทันที แต่ทำเมื่อมีการแบ็คอัพหรือลบคำสั่งที่มีใน Transaction Log ออกแล้ว แต่การลดขนาดไม่สามารถจะลดให้เล็กกว่าขนาดของไฟล์ที่สร้างไว้

Auto Update Statistics

ถ้ากำหนดให้เป็น True ค่าสถิติของคอลัมน์จะถูกเปลี่ยนแปลงโดยอัตโนมัติเมื่อข้อมูลในคอลัมน์เปลี่ยน

Use Quoted Identifiers

ถ้ากำหนดให้เป็น True จะต้องใส่ “” (Quote) เมื่อต้องการอ้างชื่อ อ็อปเจ็กต์ต่างๆ ในดาต้าเบส

Re-Organize Database – Move Data Pages to the Beginning of the Files

การปรับเนื้อที่ในดาต้าเบสใหม่โดยขยับมาใช้เนื้อที่ในส่วนต้นๆ ของดาต้าเบสที่ว่างไว้ให้เต็ม

Shrink Database Files-Truncate Trailing Free Space From th End of the Files

ให้ลบเนื้อที่ว่างที่อยู่ทางด้านท้ายไฟล์ออกไป

Periodically Check to See if the Database Disk Space Be Shurnk

กำหนดให้มีการลดขนาดของดาต้าเบสเป็นระยะๆ แต่ทั้งนี้ต้องกำหนดวันและเวลาที่จะทำโดยคลิกที่ปุ่ม Schedule

Database_Name

ชื่อของดาต้าเบสที่ต้องการลดขนาด

Target_Percent

ขนาดของเนื้อที่ว่างเป็นเปอร์เซ็นต์ที่จะให้คงเหลืออยู่หลังจากลดขนาดดาต้าเบสแล้ว ถ้าไม่ระบุจะลดขนาดให้เท่าที่สามารถจะทำได้

Notruncate

ย้ายเพจข้อมูลที่อยู่ท้ายไฟล์ไปยังเพจที่อยู่ต้นๆ ส่วนเพจท้ายๆ ที่ว่างอยู่นั้นให้คงไว้ ทำให้ขนาดของไฟล์เท่าเดิม

Truncateonly

พื้นที่ว่างที่ไม่ได้ใช้ให้กับระบบปฏิบัติการ โดยไม่มีการขยับเพจของข้อมูล เมื่อใช้ออปชั่นนี้ไม่ต้องระบุ target_percent

Target_Size

ขนาดของไฟล์เป็นเมกกะไบต์ที่เหลือหลังจากลดขนาดไฟล์แล้ว

Emptyfile

เป็นเพียงการย้ายข้อมูลในไฟล์ไปยังไฟล์อื่นๆ ที่อยู่ในกรุ๊ปเดียวกัน และไม่อนุญาตให้บันทึกข้อมูลลงในไฟล์เดิมได้

Column Name

ชื่อของคอลัมน์

Datatype

ชนิดของข้อมูล

Length

ปกติเมื่อล็อค Data Type แล้ว ความยาวของข้อมูลจะถูกกำหนดตามค่าดีฟอลต์ ยกเว้นชนิดข้อมูลบางอย่าง ที่สามารถกำหนดความยาวเองได้ด้วย ได้แก่ Char,Nchar,Varbinay,Varchar และ Nvarchar ส่วนชนิดข้อมูลที่เป็นตัวเลข เช่น Float,Numeric ความยาวจะแปรไปตามขนาดของ Precision

Precision

จำนวนหลักของข้อมูลที่มีชนิดข้อมูลเป็นตัวเลข ปกติจะมีค่าตามดีฟอลต์ ยกเว้น Data Type ที่เป็น Decimal และ Numeric ที่กำหนดจำนวนหลักเองได้ (รวมตัวเลขหลังทศนิยม)

Scale

จำนวนหลักหลังจุดทศนิยม ปกติจะถูกกำหนดให้เป็น 0 ยกเว้นชนิดข้อมูลที่เป็น Decimal หรือ Numeric ที่กำหนดจำนวนหลักหลังจุดทศนิยมได้

Allow Null

ถ้าเลือก ถูก หมายถึงมีค่าเป็น NULL ได้ โดยค่า NULL มักใช้เป็นค่าดีฟอลต์เมื่อไม่มีการป้อนข้อมูลเข้ามาในคอลัมน์นี้ ค่านี้ไม่ใช่ค่า 0 หรือ Blank สิ่งที่ควรระวัง คือ ในคอลัมน์ที่เป็น Primary Key ไม่สามารถกำหนดให้มีค่า NULL ได้ เพราะจะมีปัญหาในการคิวรีและอัพเดทข้อมูล

Default Value

กำหนดให้ใส่ค่าดีฟอลต์นี้กับคอลัมน์โดยอัตโนมัติเมื่อมีการสร้างแถวใหม่ ซึ่งถ้าผู้ใช้ไม่ป้อนข้อมูลใดๆ เข้ามา ข้อมูลในคอลัมน์นี้จะมีค่าเป็นค่าดีฟอลต์ไป

Identity

ถ้าเลือก ถูก หมายถึง คอลัมน์มีข้อมูลเป็นเลขลำดับ คือ 1,2,3,... โดย SQL Server จะใส่เลขลำดับให้เองโดยอัตโนมัติเมื่อสร้างแถวใหม่ ทั้งนี้ต้องระบุค่าของ Identity Seed และ Identity Increment ด้วย และในหนึ่งเทเบิลจะมีเพียงคอลัมน์เดียวที่เป็น Identity ได้

Is Row Guid

เก็บค่า Row Global Unique Id สำหรับบอกความเป็นเอกลักษณ์ของแถวข้อมูล คือ การแยดให้ออกว่าแต่ละแถวของข้อมูลแตกต่างกันด้วยการใช้ค่าของ Row Guid

Identiry Seed

ค่าเริ่มต้นของ Identity

Identity Increment

ค่าที่จะให้เพิ่มขึ้นในแต่ละลำดับ

Identity

คอลัมน์เก็บข้อมูลเป็นตัวเลขลำดับ

Constraint

ตรวจเช็คความถูกต้องของข้อมูลให้อัตโนมัติ

Unique

กำหนดให้ข้อมูลในคอลัมน์หรือกลุ่มของคอลัมน์ในแต่ละแถวมีค่าที่ไม่ซ้ำกัน

Check

เพื่อให้คอลัมน์รับข้อมูลตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้เท่านั้น

Delete

จะลบทีละแถว และจะบันทึกการลบของแต่ละแถวลงใน Transaction Log

Truncate

จะลบเพจที่เก็บข้อมูลในเทเบิลนั้น แล้วบันทึกการลบเพจลงใน Transaction Log แทน ทำให้ทำงานได้เร็ว แต่ไม่สามารถจะโรลแบ็ค (Roll Back) ข้อมูลที่ถูก Truncate ได้

View

เทเบิลเสมือนที่สร้างจากการนำข้อมูลบางคอลัมน์ บางแถวจากเทเบิลตั้งแต่หนึ่งเทเบิลขึ้นไปมาจัดทำเป็นแถวและคอลัมน์เสมือน

Diagram Pane

เป็นส่วนที่แสดงผังความสัมพันธ์ของเทเบิลต่างๆ ที่นำมาใช้สร้างวิว

Grid Pane

เป็นส่วนที่ใช้กำหนดเงื่อนไขในการเลือกคอลัมน์ให้กับวิว

SQL Pane

ส่วนที่แสดงคำสั่งจากรายละเอียดที่กำหนดไว้ใน Grid Pane

Result Pane

เป็นส่วนที่แสดงข้อมูลจากวิวที่กำลังสร้างนี้

บทที่ 4 คิวรี Query

 

 

คำศัพท์

ความหมาย

Query

การนำข้อมูลจากฐานข้อมูลมาแสดงออกทางจอภาพ การสอบถามข้อมูลนี้ในภาษา Transact-SQL

Arithmetic Operators

โอเปอเรเตอร์คณิตศาสตร์ ได้แก่ Operators ที่เป็น Plus (+) Minus (-),Divide (/),Multiply (*),and Modulo (%)

Comparison Operators

โอเปอเรเตอร์เปรียบเทียบเป็น Operator ที่จะให้ค่าออกมา 3 ค่า คือ ถูก (True) ผิด (False) ไม่รู้ (Unknow)

Character Operators

โอเปอเรเตอร์อักขระเป็นการค้นหาข้อมูลของคอลัมน์ที่เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร

Logical Operators

โอเปอเรเตอร์ตรรกะ เป็นตัวโอเปอเรเตอร์ที่ใช้ในการเปรียบเทียบเชื่อมโยงค่า 2 ค่า

Unknow

นำข้อมูลที่มีค่าไปเปรียบเทียบกับข้อมูลที่เป็น NULL ตัวเปรียบเทียบจะให้ค่าไม่รู้

Aggregate Functions

เป็นกลุ่มฟังก์ชันที่ใช้กับข้อมูลที่เป็นตัวเลข

Count

เป็นคำสั่งที่สามารถใช้กับตารางหรือคอลัมน์ใดๆ เพื่อนับจำนวนของแถวหรือคอลัมน์

Sum(x)

เป็นคำสั่งการหาผลรวมของคอลัมน์ใดคอลัมน์หนึ่ง

Avg(x)

เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการหาค่าเฉลี่ยของคอลัมน์ใดคอลัมน์หนึ่งที่เก็บข้อมูลประเภทตัวเลข

Max(x)

เป็นคำสั่งในการหาค่าสูงสุดของข้อมูลของคอลัมน์ใดคอลัมน์หนึ่ง

Min(x)

เป็นคำสั่งในการหาค่าต่ำสุดของข้อมูลของคอลัมน์ใดคอลัมน์หนึ่ง

Varianc(x)

เป็นฟังก์ชันในการหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานยกกำลัง 2 (S2) ในคอลัมน์ใดคอลัมน์หนึ่ง

Stddev(x)

การหาค่ารากที่สองของผลรวมของความแตกต่างระหว่างข้อมูลดิบกับค่าเฉลี่ยยก กำลังสอง (Sum of Squares ของผลต่าง) หารด้วยจำนวนข้อมูลทั้งหมดของคอลัมน์ X

Date and Tune Functions

เป็นกลุ่มฟังก์ชันที่แสดงข้อมูลออกมาเป็นวันและเวลา

ADD_MONTHS(X,Y)

เป็นฟังก์ชันที่ต้องการบวกจำนวนเดือน (Y) เข้าไปในข้อมูลคอลัมน์ (X)

LAST_DAY(X)

เป็นฟังก์ชันที่แสดงวันสุดท้ายของเดือนในคอลัมน์(X)

MONTHS_BETWEEN(X,Y)

เป็นฟังก์ชันที่คำนวณค่าระหว่าง X และ Y โดยมีหน่วยเป็นเดือน

Arithmetic Functions

เป็นกลุ่มคำสั่งที่เกี่ยวกับการคำนวณทางเลขคณิต

Abs(x)

เป็นฟังก์ชันในการหาค่าสมบูรณ์ของ X

Ceil(x)

เป็นฟังก์ชันที่ให้ค่าตัวเลขจำนวนเต็มที่มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับค่าในคอลัมน์ (X)

Floor(x)

เป็นฟังก์ชันที่ให้ค่าตัวเลขจำนวนเต็มที่พิจารณาจากค่าในคอลัมน์ X ถ้าหลังจุดทศนิยมมีค่ามากกว่า 5 ก็จะให้ค่าเลขจำนวนเต็มที่มากขึ้น แต่ถ้าหลังจุดทศนิยมมีค่าน้อกว่า 5 จะให้ค่าตัวเลขที่มีค่าน้อยลง

Exp(x)f

เป็นฟังก์ชันหาค่า e ยกกำลัง X

LN(x)

เป็นการหาค่า Natural Log ของ X

Log(x)

เป็นการหาค่า Log ฐาน 10 ของ X

Mod(X,Y)

เป็นฟังก์ชันที่แสดงเศษที่เกิดข้อมูล X หารด้วย Y

Power(x,y)

เป็นฟังก์ชันในการยกกำลัง โดย X เป็นเลขฐาน Y จะเป็นเลขยกกำลัง

Sign(x)

เป็นฟังก์ชันที่

-                    ให้ค่าเป็น -1 ถ้า X มีค่าน้อยกว่า 0

-                    ให้ค่าเป็น 0 ถ้า X มีค่าเท่ากับ 0

-                    ให้ค่าเป็น 1 ถ้า X มีค่ามากกว่า 0

Sqrt(x)

เป็นฟังก์ชันในการหาค่ารากที่ 2 ของX

Character Functions

เป็นฟังก์ชันที่ใช้สำหรับจัดการข้อมูลอักขระ โดยที่มีตัวแปรเป็นชนิดอักขระหรือชนิดตัวเลข และให้ผลการคำนวณเป็นค่าอักขระหรือค่าตัวเลข

CHR

เป็นฟังก์ชันสำหรับเปลี่ยนนิพจน์กอักขระให้เป็นรหัส ASCII

Concat(x,y)

เป็นฟังก์ชันในการรวมอักขระ (X และ Y) เข้าด้วยกัน

Initcap(<String>)

เป็นฟังก์ชันที่เปลี่ยนค่าตัวอักขระ (String) ให้ตัวแรกเป็นอักขระตัวใหญ่แล้วาตามด้วยอักขระตัวเล็ก

Lower(<String>)

เป็นฟังก์ชันที่เปลี่ยนตัวอักขระ (<String>)เป็นอักขระตัวเล็ก

Upper(<String>)

เป็นฟังก์ชันที่เปลี่ยนตัวอักขระ (<String>)เป็นอักขระตัวใหญ่

Replace(<String>,x,y)

เป็นฟังก์ชันในการแทนค่าอักขระ X โดยการค้นหาตัวอักขระที่ต้องการแทนที่ แล้วแทนที่ด้วยอักขระ Y ที่ต้องการ

Substr(<String>,x,y)

เป็นฟังก์ชันที่นำตัวอักษร (<String>) ในตำแหน่งที่ X

Conversion Functions

ฟังก์ชันการแปลง

TO_CHAR

จะทำการแปลง Data Type ที่เป็นตัวเลขให้เป็นตัวอักษร

Transaction Table

ตารางข้อมูลที่เป็นตารางเชิงรายการ

Master Table

ตารางข้อมูลที่เป็นตารางหลัก

Address Table

ตารางข้อมูลที่เป็นตารางที่อยู่

Subqueries

การเรียกดูข้อมูลแบบซ้อนกัน

 

 

 

 

 

บทที่  5  การรักษาความปลอดภัยของข้อมูล

 

คำศัพท์

ความหมาย

SQL Server Authentication Mode

โหมดการยืนยันสิทธิ์ของ SQL  Server

Server Login

ล็อคอินของเซิร์ฟเวอร์

Permission

การอนุญาตสิทธิ์

Role

บทบาท

Sa

เป็นบัญชีรายชื่อของผู้ควบคุมระบบของ SQL Server

Guest

เป็นล็อคอินพิเศษที่คุณสามารถเพิ่มให้ฐานข้อมูล

Dbo

ผู้ใช้ประเภทพิเศษของฐานข้อมูลและสามารถได้รับสิทธิพิเศษ

Dbcreator

บทบาทของผู้สร้างฐานข้อมูล ถูกออกแบบเพื่อให้ใช้กับผู้ใช้ที่ต้องการสร้างหรือปรับปรุงแก้ไขฐานข้อมูล

สมาชิกที่อยู่ในบทบาทนี้สามารถเพิ่มสมาชิกไปใน

dbcreator สามารถใช้คำสั่ง

Alter Database,

Create Database และ sp_renamedb ได้

Diskadmin

บทบาทของผู้ควบคุมระบบดิสก์

ถูกออกแบบเพื่อให้ใช้กับผู้ใช้ที่ต้องการจัดการกับไฟล์ของดิสก์

สามาชิกของบทบาทนี้สามารถเพิ่มสมาชิกไปใน Diskadmin

และสามารถใช้คำสั่ง DISK INIT,DISK  MIRROR, 

 DISK  REFIT,  DISK  REINIT,

 DISK  REMIRROR,

sp_addumpdevice,  sp_diskdefault

 และ sp_dropdevice ได้

Processadmin

บทบาทของผู้ควบคุมระบบการประมวลผล

ถูกออกแบบเพื่อให้ใช้กับผู้ใช้ที่ต้องการควบคุมการประมวลผลของ

SQL  Server สมาชิกที่อยู่ในบทบาทนี้สามารถเพิ่มสมาชิกไปใน

 Processadmin และสามารถยกเลิกการประมวลผลได้

Sysadmin

บทบาทของผู้ควบคุม ถูกออกแบบเพื่อให้ใช้กับผู้ใช้

ที่ต้องการควบคุมการทำงานของ SQL  Server

 และติดตั้งฐานข้อมูลทั้งหมด สม่าชิกในกลุ่มนี้สามารถทำงานได้ทุกอย่าง

Securityadmim

บทบาทของผู้ควบคุมระบบรักษาความปลอดภัย 

ถูกออกแบบเพี่อให้ใช้กับผู้ใช้ซึ่งต้องการจัดการกับล็อคอิน 

สร้างการอนุญาตสิทธิ์ให้กับฐานข้อมูล และอ่านไฟล์ Log

ที่เป็นข้อมูลผิดพลาด  สมาชิกที่อยู่ในบทบาทนี้สามารถเพิ่มสมาชิกไปใน

 Securityadmain และสามารถอนุญาต 

ปฎิเสธ  และยกเลิกการ Create Database และอ่านไปล์

Log ได้ พวกเขาสามารถทำงานต่าง ๆ ดังนี้ได้ 

sp_addlinkedsrvlogin, sp_asslogin, 

sp_defaultdb,  sp_defaultlanguage,

 sp_denylogin,  sp_droplinkedsrvlogin,

sp_droplogin,  sp_grantlogin, 

sp_hekplogins,  sp_remoteoption

และ sp_revokelogin

Serveradmin

บทบาทของผู้ควบคุมระบบเซิร์ฟเวอร์ ถูกออกแบบเพื่อให้ใช้

กับผู้ใช้ที่ต้องการกำหนดตัวเลือกของการตั้งค่าปฎิบัติการ

ให้กับเซิร์ฟเวอร์และการปิดเครื่องเซิร์ฟเวอร์

สมาชิกในกลุ่มนี้สามารถเพิ่มสมาชิกใน Serveradmin

และสามารถใช้คำสั่ง  DBCC  PINTABLE, 

RECONFIGURE,  SHUTDOWN,

 sp_configure และ sp_tableoption ได้

Setupadmin

บทบาทของผู้ควบคุมระบบติดตั้ง ถูกออกแบบเพื่อให้ใช้กับผู้ใช้

ที่ต้องการจัดการเซิร์ฟเวอร์ที่มีการเชื่อมต่อกันอยู่และการควบ

คุมกระบวนการในการเริ่มใช้งาน สมาชิกในกลุ่มนี้สามารถ

เพิ่มสมาชิกไปใน  Setupadmin  และสามารถเพิ่ม 

ลบ และตั้งค่าปฏิบัติการให้กับเซิร์ฟเวอร์ ที่มีการเชื่อมต่ออยู่

 และสามารถควบคุมขั้นตอนการเริ่มใช้งานได้

Db_accessadmin

เป็นบทบาทที่กำหนดขึ้นสำหรับผู้ใช้ที่ต้องการเพิ่มหรือลบล็อคอิน

ในฐานข้อมูล สมาชิกในบทบาทนี้สามารถทำงานต่าง ๆ ในฐานข้อมูล

ที่ถูกเลือกไว้ได้ดังนี้ sp_addalias,  sp_adduser,

 sp_dropalias,  sp_dropuser, 

sp_grantdbaccess และ  sp_revokedvaccess

Public

บทบาทของฐานข้อมูลสาธารณะเป็นบทบาทที่เป็นค่าเริ่มต้นที่ได้กำหนดให้กับ

ผู้ใช้ฐานข้อมูลทั้งหมด  ผู้ใช้ได้รับการถ่ายทอดการอนุญาตสิทธิ์และการให้

สิทธิพิเศษของบทบาทสาธารณะและบทบาทนี้ใช้แทนการอนุญาตสิทธิ์และ

การให้สิทธิพิเศษที่เป็นขั้นต่ำที่สุด บทบาทใด ๆ ที่คุณกำหนดให้แก่

ผู้อยู่นอกเหนือบทบาทสาธารณะให้เพิ่มการให้อนุญาตสิทธิ์และการให้สิทธิพิเศษ

 ถ้าผู้ใช้ต้องการให้ผู้ใช้ฐานข้อมูลทุกคนได้รับการอนุญาตสิทธิพิเศษให้

กำหนดการอนุญาตสิทธิ์นั้นให้แก่บทบาทสาธารณะ

Db_backupoperator

เป็นบทบาทที่กำหนดขึ้นสำหรับผู้ใช้ที่ต้องการสำรองฐานข้อมูลสมาชิกนี้สามารถ

ทำงานต่าง ๆ ในฐานข้อมูลที่ถูกเลือกไว้ได้ ดังนี้  BACKUP  DATABADE, 

BACKUP  LOG,  CGECKPOINT, 

DBCC  CHECKALLOC, 

DBCC  CHECKCATALOG,

DBCC CHECKDB,  DBCC TEXTALL, 

DBCC TEXTALLOC,

AND DBCC UPDATEUSAGE

Db_datareader

เป็นบทบาทที่กำหนดขึ้นสำหรับผู้ใช้ที่ต้องการดูข้อมูลในฐานข้อมูล

 สมาชิกในบทบาทนี้สามารถเลือกดูข้อมูลทั้งหมดจากตารางในฐานข้อมูลได้

Db_datawriter

เป็นบทบาทที่กำหนดขึ้นสำหรับผู้ใช้ที่ต้องการปรับปรุงข้อมูล

ในตารางที่อยู่ในฐานข้อมูล  สมาชิกในบทบาทนี้สามารถใช้งาน

อ็อปเจ็กต์ในฐานข้อมูลที่เลือกไว้ได้ ดังนี้ Delete, Insert

 และ Update

Db_ddlladmin

เป็นบทบาทที่กำหนดขึ้นสำหรับผู้ใช้ที่ต้องการทำงานที่เกี่ยวข้องกับ

Data Definition Language (DDL)

ของ SQL  Server สมาชิกในบทบาทนี้สามารถส่งคำสั่งของ

 DDL ใดออกไปก็ได้  ยกเว้น คำสั่ง Grant,

Revoke หรือ Deny สมาชิกในบทบาทนี้สามารถทำงานต่าง ๆ

 ในฐานข้อมูลที่ถูกไว้ได้ ดังนี้ REFERENCE,

sp_changeobjectowner, sp_procoption,

 sp_recompile,  sp_rename  และ sp_tableoption

Db_denydatareader

เป็นบทบาทที่กำหนดขึ้น เพื่อใช้จำกัดการเข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูล

ด้วยการล็อคอิน สมาชิกในบทบาทนี้สามารถปฎิเสธหรือยกเลิก

การให้อนุญาตสิทธิ์ในการใช้คำสั่ง  Select กับอ็อปเจ็กต์ในฐานข้อมูลได้

Db_denydatawriter

เป็นบทบาทที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้จำกัดการอนุญาตสิทธิ์ในการปรับปรุง

ฐานข้อมูลโดยการล็อคอิน  สมาชิกของบทบาทนี้สามารถปฎิเสธหรือยกเลิก

การให้อนุญาตสิทธ์ในการใช้คำสั่ง Insert, Update

 และ Delete กับอ็อปเจ็กต์ที่อยู่ในฐานข้อมูลได้

Db_securityadmin

เป็นบทบาทที่กำหนดขึ้นให้กับผู้ใขที่ต้องการจัดการกับการให้อนุญาตสิทธ์

 เจ้าของอ็อปเจ็กต์ และบทบาท สมาชิกที่อยู่ในบทบาทนี้สามารถทำงานต่าง ๆ

 ในฐานข้อมูลที่ถูกเลือกไว้ได้ ดังนี้ DENY,GRANT,REVOKE,

sp_addapprole,sp_addrole,sp_addrolemember,

sp_addrolepassword,sp_changcobjectowner,

sp_dropapprole,sp_droprole

และ sp_droprolemember

Db_owner

เป็นบทบาทที่กำหนดขึ้นสำหรับผู้ใช้ที่ต้องการควบคุมงานทุกด้านในฐานข้อมูล

สมาชิกในบทบาทนี้สามารถกำหนดสิทธิ์ปรับปรุงการตั้งค่าในฐานข้อมูล

การบำรุงรักษาฐานข้อมูล และทำงานในการควบคุมระบบตัวอื่นๆ ในฐานข้อมูลได้

Standard

ล็อคอินของ SQL Server

Windows NT User

บัญชีรายชื่อของผู้ใช้โดเมน

Windews NT Group

บัญชีรายชื่อกลุ่มของโดเมน

Server Access

ประเภทของการให้อนุญาตสิทธิ์ที่ผู้ใช้ในการเข้าถึงเซิร์ฟเวอร์

Permit

ผู้ใช้สามารถเข้าถึงเซิร์ฟเวอร์ได้

Deny

ผู้ใช้ไม่สามารถเข้าถึงเซิร์ฟเวอร์ได้

Default Database

ค่าเริ่มต้นของฐานข้อมูลสำหรับผู้ใช้

User

ชื่อของผู้ใช้ที่ใช้ในการล็อคอินในฐานข้อมูล

Name

ชื่อล็อคอิน

Default Language

ค่าเริ่มต้นของภาษาที่ใช้กับผู้ใช้

Grant

เป็นการอนุญาตให้ทำงานที่เกี่ยวข้องด้วยบทบาทนั้น สมาชิกทุกๆ

 ตัวของบทบาทจะได้รับการถ่ายทอดการอนุญาตสิทธิ์

Revoke

เป็นการลบการให้อนุญาตสิทธิ์ออกก่อน แต่ไม่ได้เป็นการป้องกันให้

ผู้ใช้หรือบทบาทไม่สามารถทำงานได้ ผู้ใช้หรือบทบาทยังคงสามารถ

ได้รับการถ่ายทอดการอนุญาตสิทธิ์มาจากอีกบทบาทหนึ่งได้

Deney

เป็นการปฏิเสธการให้อนุญาตสิทธ์ที่ใช้ในการทำงานและป้องกันไม่ให้

ผู้ใช้หรือบทบาทได้รับการถ่ายทอดการอนุญาตสิทธิ์ ซึ่ง Deny

 จะเป็นประเภทของการอนุญาตสิทธิ์ที่มาก่อนการอนุญาตสิทธิ์ตัวอื่นๆ

 

บทที่ 6 การแบ็คอัพและรีสโตร์ข้อมูล

 

คำศัพท์

คำแปล

Relational Database Management

System : RDBM 3

ระบบจัดการฐานข้อมูล

Back Up

การสำรองข้อมูล

System Recovery หรือ Automatic Recovery

คือ การที่ SQL Server พยายามกู้ข้อมูลในระบบกลับคืนใกล้สู่สภาพเดิมมากที่สุดก่อนที่ระบบจะมีปัญหา โดยจะทำงานควบคู่กับ Transaction Log และ Check Point เพื่อรองรับทรานแซคชั่นหลายๆ แบบที่เกิดขึ้นในขณะนั้น

Check Point

คือ เวลาที่ระบจัดการฐานข้อมูลจะนำทรานแซคชั่นที่เสร็จเรียบร้อยแล้วบันทึกลงในดาต้าเบส

Roll Forward

ส่งเข้าไปทำงานใหม่

Database – Complete หรือ Full Backup

การแบ็คอัพข้อมูลทั้งหมดของดาต้าเบส และบางส่วนใน Transaction Log ที่เกิดขึ้นขณะทำการแบ็คอัพ

Database – Differential

การแบ็คอัพเฉพาะส่วนที่เป็นข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงหลังจากการทำ Full Backup ครั้งล่าสุดเท่านั้น

Transaction Log

การแบ็คอัพเฉพาะส่วนที่เป็น Transaction Log การแบ็คอัพแบบนี้จะใช้เมื่อต้องการแบ็คอัพข้อมูลจนถึงปัจจุบัน

File and Filegroup

ประกอบไปด้วยไฟล์และไฟล์กรุ๊ปต่างๆ สามารถเลือกที่จะแบ็คอัพแยกแต่ล่ะไฟล์หรือไฟล์กรุ๊ปได้โดยไม่ต้องแบ็คอัพทั้งดาต้าเบส

Physical Name

ชื่อที่ระบบปฏิบัติการกำหนดมาให้

Logical Name

ชื่อที่ผู้ใช้กำหนดขึ้นมาใหม่เพื่อให้เรียกใช้ได้ง่าย

Append to Media

ให้บันทึกต่อท้ายข้อมูลเดิมในแบ็คอัพดีไวซ์

Overwrite Existing Media

การบันทึกทับข้อมูลเดิมในแบ็คอัพดีไวซ์

Schedule

ตั้งเวลาการแบ็คอัพเพื่อให้ทำงานโดยอัตโนมัติเมื่อถึงเวลานั้น

Start automatically when SQL Server Agent Starts

ให้แบ็คอัพเมื่อเซอร์วิสของ SQL Server Agent สตาร์ท

One Time

ให้แบ็คอัพตามวันที่กำหนด (On Date) และเวลาที่กำหนด (On Time)

Start Whenever the CPU(s) Become Idle

ให้แบ็คอัพเมื่อ CPU อยู่ในสถานะ Idle (หยุดพัก)

Recurring

ให้แบ็คอัพซ้ำๆ กันได้ โดยกำหนดให้ทำทุกวัน หรือทุกสัปดาห์หรือทุกเดือน

Verify Backup Upon Completion

ให้ระบบตรวจสอบผลการแบ็คอัพอีกครั้งหลังจากแบ็คอัพเสร็จแล้ว

Eject Tape After Backup

ให้ดันม้วนเทปออกจากเทปไดรฟ์หลังจากแบ็คอัพเสร็จ

Remove Inactive Entries From Transaction Log

ใช้เฉพาะกับการแบ็คอัพ Transaction Log ให้ลบ (Truncate) รายการใน Transaction Log ที่คอมมิทแล้วหลังจากที่แบ็คอัพเสร็จ

Check Media Set Name and Backup Set Expiration

ให้ตรวจสอบชื่อของดีไวซ์และวันหมดอายุของดีไวซ์ก่อนที่จะบันทึก จะช่วยป้องกันความผิดพลาดในการหยิบแบ็คอัพดีไวซ์ที่ผิดมาใช้ ที่ช่อง Media Set Name ให้ระบุชื่อของดีไวซ์

Backup Set Will Expire

ระบุจำนวนวันหรือวันที่ที่จะให้ดีไวซ์นั้นหมดอายุและพร้อมที่จะให้บันทึก ทับดีไวซ์นั้นได้ มี 2 แบบ คือ After ให้บันทึกทับดีไวซ์นั้นเมื่อครบจำนวนวันที่กำหนด หลังจากแบ็คอัพเสร็จส่วน On คือ ให้บันทึกทับดีไวซ์นั้นหลังจากวันที่กำหนด

Initialize and Label Media

ให้บันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับเทปที่ส่วนต้นของเทป และลบข้อมูลเดิมที่มีอยู่รวมทั้งรายละเอียดเดิมออกไป

Media Set Name

ระบุชื่อของดีไวซ์ที่ส่วนตัวของดีไวซ์

Media Set Description

ระบุส่วนที่เป็นคำอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับดีไวซ์

Automatic Recovery

เป็นการกู้ข้อมูล SQL Server จะทำเอง หลังจากที่ SQL Server หยุดการทำงานกลางคันจากเหตุไฟดับ

Manual Recovery

การกู้ดาต้าเบสโดยผู้ใช้เอง

Suspect

อาการนี้เกิดจากไฟล์ของดาต้าเบสที่อยู่ในดิสก์เสีย

Show Backups of Database

ให้เลือกชื่อดาต้าเบสที่ต้องการ เพื่อแสดงรายละเอียดที่เคยแบ็คอัพไว้และควรเลือกให้ตรงกับชื่อดาต้าเบสที่ต้องการรีสโตร์

First Backup to Restore

แสดงวันเวลาครั้งล่าสุดที่ได้แบ็คอัพไว้

Point In Time Restore

สำหรับระบุวันเวลาที่ต้องการให้รีสโตร์ถึงจุดนั้น

Backup Set Date

วันเวลาที่แบ็คอัพ

Backup Set Name

ชื่อชุดที่แบ็คอัพ

Only the Backup Sets of the As Data Files On Drive

ให้แสดงเฉพาะรายการแบ็คอัพที่อยู่ในไดร์ฟที่ระบุ

Only the Backup Set Completed After Date,Time

ให้แสดงเฉพาะรายการแบ็คอัพที่เกิดหลังจากวัน เวลา ที่ระบุ

Prompt Before Restoring Each Backup

กำหนดให้มีการถามก่อนที่จะรีสโตร์รายการถัดไป ใช้เมื่อมีการรีสโตร์หลายๆ รายการ เพื่อจะสามารถหยุดการทำงานได้ถ้าพบข้อผิดพลาด

Force Restore Over Existing Database

ถ้ามีดาต้าเบสอยู่แล้ว ให้รีสโตร์ข้อมูลทับลงไปที่ดาต้าเบสนั้นเลย แต่ถ้าไม่เลือกเช็คบ็อกซ์นี้และมีดาต้าเบสนั้นอยู่แล้ว จะไม่สามารถรีสโตร์ได้

Move to Physical File Name

ชื่อและตำแหน่งของไฟล์ ซึ่งสามารถเปลี่ยนพาธที่ต้องการเก็บไฟล์บนดิสก์ได้

Leave Database Operational. No Additional Transaction Logs Can Be Restored.

กำหนดออปชั่นนี้เมื่อการรีสโตร์ครั้งนี้เป็นครั้งสุดท้าย และไม่มีการรีสโตร์ Transaction Log อีก เมื่อรีสโตร์เสร็จดาต้าเบสจะเปิดใช้งานได้ทันที

Leave Database Nonoperational, But Able to Restore Additional Transaction Logs

หลังจากรีสโตร์เสร็จแล้ว ดาต้าเบสยังใช้งานไม่ได้ มักใช้ในกรณีที่การรีสโตร์ยังไม่เสร็จสิ้น คือ ยังมีแบ็คอัพอื่นๆ ที่ต้องรีสโตร์ต่อจากการรีสโตร์ครั้งนี้อีก ซึ่งอาจรีสโตร์ Differential Backup หรือ Transaction Log ต่อจากนี้อีกก็ได้

Leave Database Read – Only and Able to Restore Additional Transaction Logs.

หลังจากรีสโตร์แล้วจะเปิดใช้ดาต้าเบสได้ โดยสามารถอ่านข้อมูลได้เพียงอย่างเดียว พร้อมทั้งสามารถจะรีสโตร์ Differential Backup หรือ Transaction Log ต่อจากนี้อีกได้

Undo File

ให้ใส่ชื่อและพาธของไฟล์ที่เก็บข้อมูลของการรสโตร์ครั้งที่ผ่านมาไว้ (undo_file_name) เพื่อใช้กู้ข้อมูลให้กลับสู่สภาพเดิมก่อนการรีสโตร์ ถ้าการรีสโตร์นั้นมีความผิดพลาดเกิดขึ้น


คำถามท้ายบท ::