มาตรฐานน้ำเพื่อการบริโภค

ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมน้ำบริโภค | น้ำดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท | น้ำบาดาลที่ใช้บริโภค

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมน้ำบริโภค
คุณลักษณะ ดัชนีคุณภาพน้ำ หน่วย มาตรฐาน
เกณฑ์กำหนดสูงสุด
(Maximum Acceptable Concentration)
เกณฑ์อนุโลมสูงสุดa
(Maximum Allowable Concentration)
ทางกายภาพ 1.สี (Colour) ปลาตินัม-โคบอลด์
(Platinum-Cobalt)
5 15
2.รส (Taste) - ไม่เป็นที่รังเกียจ ไม่เป็นที่รังเกียจ
3.กลิ่น (Odour) - ไม่เป็นที่รังเกียจ ไม่เป็นที่รังเกียจ
4.ความขุ่น (Turbidity) ซิลิกา สเกล ยูนิต
(Silica scale unit)
5 20
5.ความเป็นกรด-ด่าง(pH) - 6.5-8.5 9.2
ทางเคมี 6.ปริมาณสารทั้งหมด
(Total Solids)
มก./ล. 500 1,500
7.เหล็ก (Fe) มก./ล. 0.5 1.0
8.มังกานีส (Mn) มก./ล. 0.3 0.5
9.เหล็กและมังกานีส (Fe& Mn) มก./ล. 0.5 1.0
10.ทองแดง (cu) มก./ล. 1.0 1.5
11.สังกะสี (Zn) มก./ล. 5.0 15.0
12.คัลเซียม (Ca) มก./ล. 75b 200
13.แมกนีเซียม (Mg) มก./ล. 50 150
14.ซัลเฟต (SO4) มก./ล. 200 250c
15.คลอไรต์ (Cl) มก./ล. 250 600
16.ฟลูออไรด์ (F) มก./ล. 0.7 1.0
17.ไนเตรต (NO3) มก./ล. 45 45
18.อัลคิลเบนซิลซัลโฟเนต
(Alkylbenzyl Sulfonate,ABS)
มก./ล. 0.5 1.0
19.ฟีโนลิกซับสแตนซ์(Phenolic
substances as phenol)
มก./ล. 0.001 0.002
สารเป็นพิษ 20.ปรอท (Hg) มก./ล. 0.001 -
21.ตะกั่ว (Pb) มก./ล. 0.05 -
22.อาร์เซนิก (As) มก./ล. 0.05 -
23.ซิลิเนียม (Se) มก./ล. 0.01 -
24.โครเมียม
(Cr hexavalent)
มก./ล. 0.05 -
25.ไซยาไนด์ (CN) มก./ล. 0.2 -
26.แคดเมียม (Cd) มก./ล. 0.01 -
27.แบเรียม (Ba) มก./ล. 1.0 -
ทางจุลชีววิทยา 28.แสตนดาร์ดเพลตเคานต์(Standard Plate Count) โคโลนีต่อลูบาศก์
เซนติเมตร(Colonies/cm3
500 -
29.เอ็มพีเอ็น (MPN) โคลิฟอร์มออร์แกนิสซัม
ต่อ 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร
(Coliform Organism/100 cm3
น้อยกว่า 2.2 -
30.อีโคไล (E.coli) ไม่มี -


หมายเหตุ

:
a

เกณฑ์ที่อนุโลมให้สูงสุดเป็นเกณฑ์ที่อนุญาตให้สำหรับน้ำประปาหรือน้ำบาดาลที่มีความจำเป็นต้องใช้บริโภคเป็นการชั่วคราวและน้ำที่มีคุณลักษณะอยู่ในระหว่างเกณฑ์กำหนดสูงสุด กับเกณฑ์อนุโลมสูงสุดนั้นไม่ไช่น้ำที่ให้เครื่องหมายมาตรฐานได้
b

หากคัลเซียมมีปริมาณสูงกว่าที่กำหนด และมักเนเซียม มีปริมาณต่ำกว่าที่กำหนดในมาตรฐานให้พิจารณาคัลเซียมและมักเนเซียมในเทอมของความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) ถ้ารวมความกระด้างทั้งหมดเมื่อคำนวณเป็นคัลเซียมคาร์บอเนต มีปริมาณต่ำกว่า 300 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ถือว่าน้ำนั้นเป็นไปตามมาตรฐานการแบ่งระดับความกระด้างของน้ำดังต่อไปนี้

0 ถึง 75 มิลลิกรัมต่อลิตร เรียก น้ำอ่อน
75 ถึง 150 มิลลิกรัมต่อลิตร เรียก น้ำกระด้างปานกลาง
150 ถึง 300 มิลลิกรัมต่อลิตร เรียก น้ำกระด้าง
300 มิลลิกรัมต่อลิตรขึ้นไป เรียก น้ำกระด้างมาก
c

หากซัลเฟต มีปริมาณถึง 250 มิลลิกรัมต่อลิตร มักเนเซียม ต้องมีปริมาณไม่เกิน 30 มิลลิกรัมต่อลิตร (มิลลิกรัมต่อลิตร = มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร)
แหล่งที่มา : ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 332 (พ.ศ. 2521) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่องกำหนมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมน้ำบริโภค ตีพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 95 ตอนที่ 68 ลงวันที่ 4 กรกฎาคม 2521


มาตรฐานคุณภาพน้ำดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
คุณลักษณะ ดัชนีคุณภาพน้ำ หน่วย ค่ามาตรฐาน
(เกณฑ์อนุโลมสูงสุด)
ทางกายภาพ 1.สี (Colour) ฮาเซนยูนิต(Hazen) 20
2.กลิ่น(Odour) - ไม่มีกลิ่น
(ไม่รวมกลิ่นคลอรีน)
3.ความขุ่น(Turbidity) ซิลิกาสเกลยูนิต
(silica scale unit)
5
4.ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) - 6.5-8.5
ทางเคมี 5.ปริมาณสารทั้งหมด(Total Soilds) มก./ล. 500
6.ความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness)
(คำนวณเป็นแคลเซียมคาร์บอเนต)
มก./ล. 100
7.สารหนู (As) มก./ล. 0.05
8.แบเรียม (Ba) มก./ล. 1.0
9.แคดเมียม (Cd) มก./ล. 0.005
10.คลอไรด์
(Cl, คำนวณเป็นคลอรีน)
มก./ล. 250
11.โครเมียม (Cr) มก./ล. 0.05
12.ทองแดง (cu) มก./ล. 1.0
13.เหล็ก (Fe) มก./ล. 0.3
14.ตะกั่ว (Pb) มก./ล. 0.05
15.แมงกานีส (Mn) มก./ล. 0.05
16.ปรอท (Hg) มก./ล. 0.002
17.ไนเตรต
(NO3-N, คำนวณเป็นไนโตรเจน)
มก./ล. 4.0
18.ฟีนอล (Phenols) มก./ล. 0.001
19.ซิลิเนียม (Se) มก./ล. 0.01
20.เงิน (Ag) มก./ล. 0.05
21.ซัลเฟต (SO4) มก./ล. 250
22.สังกะสี (Zn) มก./ล. 5.0
23.ฟลูออไรด์ (F)
(คำนวณเป็นฟลูออรีน)
มก./ล. 1.5
24.อะลูมิเนียม มก./ล. 0.2
25.เอบีเอส (Alkylbenzene Sulfonate) มก./ล. 0.2
26.ไซยาไนด์ มก./ล. 0.1
ทางบัคเตรี 27.โคลิฟอร์ม (Coliform) เอ็ม.พี.เอ็น/100 มล. 2.2
28.อี.โคไล (E.Coli) เอ็ม.พี.เอ็น/100 มล. ตรวจไม่พบ
29.จุลินทรีย์ทำให้เกิดโรค(Disease-causing bacteria) เอ็ม.พี.เอ็น/100 มล. ตรวจไม่พบ

แหล่งที่มา : ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 61 (พ.ศ. 2524) เรื่องน้ำบริโภคในภาชนะที่ปิดสนิท ตีพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 98 ตอนที่ 157 (ฉบับพิเศษ) ลงวันที่ 24 กันยายน 2524 ซึ่งได้แก้ไขเพิ่มเติมโดย ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 135 (พ.ศ. 2534) เรื่อง น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 ตีพิมพ์ในหนังสือราชกิจจานุเบกษา เล่ม 108 ตอนที่ 61 ลงวันที่ 2 เมษายน 2534


มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาลที่ใช้บริโภค
คุณลักษณะ ดัชนีคุณภาพน้ำ หน่วย ค่ามาตรฐาน
เกณฑ์กำหนดที่เหมาะสม เกณฑ์อนุโลมสูงสุด
ทางกายภาพ 1.สี(Colour) แพลทินัม-โคบอลต์ 5 15
2.ความขุ่น(Turbidity) หน่วยความขุ่น 5 20
3.ความเป็นกรด-ด่าง (pH) - 7.0-8.5 6.5-9.2
ทางเคมี 4.เหล็ก (Fe) มก./ล. ไม่เกินกว่า 0.5 1.0
5.แมงกานีส (Mn) มก./ล. ไม่เกินกว่า 0.3 0.5
6.ทองแดง (cu) มก./ล. ไม่เกินกว่า 1.0 1.5
7.สังกะสี (Zn) มก./ล. ไม่เกินกว่า 5.0 15.0
8.ซัลเฟต (SO4) มก./ล. ไม่เกินกว่า 200 250
9.คลอไรด์ (Cl) มก./ล. ไม่เกินกว่า 250 600
10.ฟลูออไรด์ (F) มก./ล. ไม่เกินกว่า 0.7 1.0
11.ไนเตรด (NO3) มก./ล. ไม่เกินกว่า 45 45
12.ความกระด้างทั้งหมด
(Total Hardness as CaCO3
มก./ล. ไม่เกินกว่า 300 500
13.ความกระด้างถาวร
(Non carbonate hardness as CaCO3
มก./ล. ไม่เกินกว่า 200 250
14.ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายได้
(Total disslved solids)
มก./ล. ไม่เกินกว่า 600 1,200
สารพิษ 15.สารหนู (As) มก./ล. ต้องไม่มีเลย 0.05
16.ไซยาไนด์ (CN) มก./ล. ต้องไม่มีเลย 0.1
17.ตะกั่ว (Pb) มก./ล. ต้องไม่มีเลย 0.05
18.ปรอท (Hg) มก./ล. ต้องไม่มีเลย 0.001
19.แคดเมียม (Cd) มก./ล. ต้องไม่มีเลย 0.01
20.ซิลิเนียม (Se) มก./ล. ต้องไม่มีเลย 0.01
ทางบักเตรี 21.บักเตรีที่ตรวจพบโดยวิธี
Standard plate count
โคโลนีต่อ ลบ.ซม. ไม่เกินกว่า 500 -
22.บักเตรีที่ตรวจพบโดยวิธี
Most Probable Number (MPN)
เอ็ม.พี.เอ็น
ต่อ 100 ลบ.ซม.
น้อยกว่า 2.2 -
23.อี.โคไล (E.coli) - ต้องไม่มีเลย -

แหล่งที่มา : ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และมาตรการในทางวิชาการสำหรับการป้องกัน ด้านสาธารณสุขและการป้องกันในเรื่องสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ พ.ศ. 2551 ตีพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนพิเศษ 85 ง ลงวันที่ 21 พฤษภาคม 2552

รูปภาพที่เกี่ยวข้อง

ติชม


ต้องการให้คะแนนบทความนี้่ ?

สร้างโดย :


krujaja

สถานะ : ผู้ใช้ลงทะเบียน
สามัญสัมพันธ์