วิชางานเชื่อมไฟฟ้า

                                                  
การเชื่อมโลหะ

การเชื่อมโลหะด้วยลวดธูป (MMA) กับการเชื่อมโลหะด้วยลวดม้วน (MIG) อะไรจะดีกว่ากัน
ในหลายๆประเทศทั่วโลก “นิยมใช้การเชื่อมโลหะด้วยลวดม้วน มากกว่าการเชื่อมด้วยลวดธูป” กันมากมาย อะไรคือเหตุผล

การเชื่อมโลหะ

การเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมธูป ชื่อจริงๆ เราเรียกว่า “การเชื่อมอาร์คด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลั๊กซ์ ”
ซึ่งมีอุปกรณ์ต่างๆที่จำเป็นอยู่ไม่กี่อย่าง ได้แก่ ตู้เชื่อมแบบธรรมดาทั่วๆไป ซึ่งมีทั้งแบบ AC และ DC, สายเชื่อมพร้อมหัวเชื่อม. สายดิน และลวดเชื่อมหุ้มฟลั๊กซ์

การเชื่อมโลหะด้วยลวดม้วน มีชื่อเรียกจริงๆว่า “ การเชื่อมอาร์คใช้ก๊าซปกคลุม ”
ซึ่งมีอุปกรณ์ต่างๆที่จำเป็นอยู่หลายอย่าง ได้แก่ ตู้เชื่อมระบบพิเศษ, ชุดขับป้อนลวด, สายเชื่อมพร้อมหัวเชื่อม, สายดิน, ถังบรรจุแก๊ปกคลุม,เกจ์ปรับความดันและอัตราการไหลของแก๊สปกคลุม และลวดเชื่อมที่เป็นม้วน)


การที่จะตัดสินใจว่า การเชื่อมทั้งสองชนิดนี้ อย่างไหนจะดีกว่ากัน
1.ความเร็วและความต่อเนื่องในการเชื่อม :
1.1ความต่อเนื่องในการเชื่อม : การเชื่อมด้วยลวดม้วน (มิก) จะมีการหลอมละลายของลวดเชื่อมที่ป้อนออกมาอย่างต่อเนื่อง โดยที่ลวดเชื่อมที่ขดอยู่ในม้วนจะถูกส่งออกมาตลอดเวลาที่มีการกดสวิทช์เชื่อม นั่นก็หมายความว่า ความต่อเนื่องของการเชื่อมด้วยลวดม้วน จะดีกว่าการเชื่อมด้วยลวดเชื่อมธูป ท่านคงทราบดีว่า การเชื่อมด้วยลวดเชื่อมธูปนั้น เนื่องจากความยาวของลวดเชื่อมมีจำกัด ท่านจึงจำเป็นต้องมีการหยุดเชื่อมชั่วคราวเพื่อทำการเปลี่ยนลวดเชื่อม ในขณะที่การเชื่อมด้วยลวดม้วน ไม่จำเป็นต้องคำนึงถึงจุดนี้ นี่ก็เป็นเหตุผลหนึ่งที่ มีการนำการเชื่อมด้วยลวดม้วนไปใช้กับหุ่นยนต์เชื่อม

1.2เวลาในการทำความสะอาดรอยเชื่อม : อย่างที่ท่านทราบกันดีอยู่แล้วว่า รอยเชื่อมที่ได้จากการใช้ลวดธูป จะมีสแล็กปกคลุมอยู่เป็นปริมาณพอสมควร ในขณะที่ การเชื่อมด้วยลวดม้วนแทบไม่มี สแล็กปกคลุมอยู่เลย นั่นก็หมายความว่า หลังจากเชื่อมเสร็จแล้ว การเสียเวลาทำความสะอาดรอยเชื่อมในการเชื่อมด้วยลวดม้วนจะน้อยกว่า 

                                       

                                        แผนการสอน

แผนการสอน

มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพและบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

วิชา  งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น   

 

รหัสวิชา 2100-1005

 

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) พุทธศักราช 2545

(ปรับปรุง พ.ศ. 2546)

สาขาช่างอุตสาหกรรม        

 

จัดทำโดย

..........................................................................

........................................

 

 

 

 

แผนการสอน

 

มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ

 

วิชา   งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น   

 

 

รหัสวิชา  2100-1005

 

 

 

 

 

 

 

 

  จัดทำโดย

......................................................

 

 

คำนำ 

            หนังสือวิชางานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น  รหัส  2100-1005  จัดทำขึ้นตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ  พุทธศักราช  2545  (ปรับปรุง  พ.ศ.  2546)  หมวดวิชาชีพพื้นฐาน  ประกอบด้วยเนื้อหา  จำนวน  9  หน่วยคือ  ความรู้เบื้องต้นในการเชื่อมแก๊ส  การเชื่อมด้วยแก๊สออกซิอะเซตทิลีน  การผลิตแก๊สออกซิเจนและแก๊สอะเซตทิลีน  การเชื่อมแก๊ส  การตัดโลหะด้วยแก๊ส  การแล่นประสาน  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเชื่อมไฟฟ้า  กระบวนการเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลั๊กซ์  ลักษณะและองค์ประกอบการเชื่อมไฟฟ้า  ความรู้เบื้องต้นในงานโลหะแผ่น  เครื่องมือและเครื่องจักรในงานโลหะแผ่น  การเขียนแบบแผ่นคลี่อย่างง่าย  การบัดกรีและย้ำหมุด  และการขึ้นรูปผลิตภัณฑ์โลหะ

            โดยเรียบเรียงเป็นลำดับบทเรียนจากง่ายไปหายาก  ตามจุดประสงค์รายวิชา  มาตรฐานรายวิชาและคำอธิบายรายวิชา  ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ  พร้อมทั้งแบบประเมินผลเพื่อวัดการสัมฤทธิ์ผลทางการเรียน

           

           

 

 

 

                                                                 ...........................................................

                                                                                    ผู้เรียบเรียง

 

 

 

 

 

 

 

 

แผนการสอน/แผนการเรียนรู้รายวิชา

ชื่อรายวิชา……….งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น..........รหัสวิชา…….…..2100 - 1005................ (ท-ป-น)  ………………..……ระดับชั้น………………….........ปวช…………………….…….…..สาขาวิชา/กลุ่มวิชา/แผนกวิชา.........................................ช่างอุตสาหกรรม.........................................

หน่วยกิต................2....................จำนวนคาบรวม...............................72….................................คาบ

ทฤษฏี..........................................คาบ/สัปดาห์   ปฏิบัติ..................................................คาบ/สัปดาห์

ภาคเรียนที่...........................................................ปีการศึกษา..............................................................

จุดประสงค์รายวิชา

  1. เพื่อให้มีความเข้าใจหลักการ กระบวนการเชื่อมแก๊สและการเชื่อมไฟฟ้า
  2. เพื่อให้ปฏิบัติงานเชื่อมและโลหะแผ่นด้วยความปลอดภัยตามหลักอาชีวอนามัย
  3. เพื่อให้สามารถใช้และปรับแต่งเครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเชื่อมและโลหะแผ่น
  4. เพื่อให้มีความสามารถเชื่อมแก๊ส เชื่อมไฟฟ้าและงานโลหะแผ่น
  5. เพื่อให้มีมีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย ประณีตรอบคอบ และตระหนักถึงความปลอดภัย

คำอธิบายรายวิชา

            ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ ดารบำรุงรักษาเครื่องมือ และเครื่องกลเบื้องต้น ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน งานวัดและตรวจสอบ งานร่างแบบ งานตัด งานตะไบ งานเจาะ งานลับคมตัด งานทำเกลียว งานประกอบ

มาตรฐานรายวิชา

  1.    เข้าใจหลักการ กระบวนการเชื่อมแก๊ส และการเชื่อมไฟฟ้า
  2.    เชื่อม แล่นประสาน และตัดแผ่นเหล็กกล้าคาร์บอนด้วยแก๊ส
  3.    เชื่อมอาร์กลวดหุ้มฟลั๊กซ์แผ่นเหล็กกล้าคาร์บอน
  4.   ขึ้นรูปผลิตภัณฑ์โลหะแผ่น

คำอธิบายรายวิชา

                ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการเบื้องต้นในงานเชื่อมและโลหะแผ่น ความปลอดภัยในงานเชื่อมและงานโลหะแผ่น กระบวนการเชื่อมแก๊สและไฟฟ้า วัสดุ เครื่องเชื่อมและอุปกรณ์ฝนงานเชื่อม เครื่องจักรและเครื่องมือที่ใช้ในงานโลหะแผ่น การแล่นประสาน (Brazing) รอยต่อที่ใช้ในงานเชื่อแก๊สและไฟฟ้า การเริ่มต้นอาร์คการเชื่อมเดินแนว ต่อมุม ต่อตัวที ท่าราบ การเขียนแบบแผ่นคลี่ลงแผ่นงาน การทำตะเข็บ การบัดกรี การขึ้นรูปด้วยการพับ ตัด เคาะขึ้นขอบ การม้วน และประกอบชิ้นงานโดยใช้อุปกรณ์ความปลอดภัยส่วนบุคคลถูกต้องตามหลักความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

รายการหน่วย ชื่อหน่วย และสมรรถนะประจำหน่วย

ชื่อเรื่อง         

สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

หน่วยที่  1   ความรู้เบื้องต้นในการเชื่อมแก๊ส

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สมรรถนะ :   ประกอบและติดตั้งอุปกรณ์งานเชื่อมแก๊ส

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

ด้านความรู้

  1. อธิบายความปลอดภัยตามหลักอาชีวอนามัยได้
  2. บอกสาเหตุและการเกิดอุบัติเหตุได้
  3. บอกกฎความปลอดภัยในทางเชื่อมแก๊สได้
  4. เรียกชื่อเครื่องมือของอุปกรณ์ในงานเชื่อมแก๊สได้
  5. อธิบายการประกอบ  ติดตั้ง  และบำรุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ์ในการเชื่อมแก๊สได้

ด้านทักษะ

  1. ปฏิบัติงานประกอบและติดตั้งอุปกรณ์การเชื่อมแก๊สได้

 

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง

  1. ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง และสำเร็จภายใน เวลาที่กำหนดอย่างมีเหตุและผลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  
    1. ช่วยเหลือเพื่อนด้วยการช่วยกันสรุปเพื่อความรู้ความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
    2. เข้าเรียนตรงตามเวลา

 

 

ชื่อเรื่อง

สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

หน่วยที่   2  กระบวนการเชื่อมแก๊สออกซิอะเซตทิลีน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สมรรถนะ :   -    ปรับเปลวไฟให้เหมาะกับชิ้นงาน

-                   สร้างบ่อหลอมละลาย

-                   ปฏิบัติงานเชื่อมต่อมุม

-                   ปฏิบัติงานต่อขอบ

 

 

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

ด้านความรู้

  1. อธิบายการผลิตแก๊สออกซิเจนและแก๊สอะเซตทิลีนได้
  2. อธิบายระบบการจ่ายแก๊สหลายจุดใช้งานได้
  3. อธิบายเทคนิคการเชื่อมแก๊สแบบ  Backhand  และ  Forehand ได้
  4. เปรียบเทียบลักษณะของงานที่ตัดใช้เทคนิคการเชื่อมแก๊สได้
  5. อธิบายลักษณะของรอยต่อในงานเชื่อมแก๊สได้
  6. อธิบายลักษณะของท่าเชื่อมในงานเชื่อมต่อตัวทีได้

ด้านทักษะ

  1. ปฏิบัติการปรับเปลวไฟเชื่อมแก๊สและสร้างบ่อหลอมละลายได้
  2. ปฏิบัติการเชื่อมต่อมุมและการเชื่อมต่อขอบได้
  3. ปฏิบัติการเชื่อมเดินแนวท่าราบและการเชื่อมต่อตัวทีได้

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง

  1. ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง และสำเร็จภายใน เวลาที่กำหนดอย่างมีเหตุและผลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  
    1. ช่วยเหลือเพื่อนด้วยการช่วยกันสรุปเพื่อความรู้ความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
    2. เข้าเรียนตรงตามเวลา

 

ชื่อเรื่อง         

สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

หน่วยที่   3  การแล่นประสานและตัดเหล็กกล้าคาร์บอนด้วยแก๊ส

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สมรรถนะ :   -      ปฏิบัติการตัดโลหะด้วยแก๊สโดยใช้หลักความปลอดภัย

-                   ปฏิบัติการแล่นประสานด้วยความ

ปลอดภัย

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

ด้านความรู้

  1. อธิบายความหมายของการตัดโลหะด้วยแก๊สได้
  2. บอกเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในงานแก๊สได้
  3. อธิบายลักษณะของรอยตัดได้
  4. อธิบายความหมายของการแล่นประสานได้
  5. บอกเครื่องมือและอุปกรณ์ในการแล่นประสานได้
  6. อธิบายหน้าที่ของฟลั๊กซ์ที่ใช้ในการแล่นประสานได้
  7. บอกข้อเสียในการแล่นประสานได้

 

ด้านทักษะ

  1. ปฏิบัติการตัดด้วยแก๊สได้
  2. ปฏิบัติการแล่นประสานได้

 

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง

  1. ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง และสำเร็จภายใน เวลาที่กำหนดอย่างมีเหตุและผลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  
    1. ช่วยเหลือเพื่อนด้วยการช่วยกันสรุปเพื่อความรู้ความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
    2. เข้าเรียนตรงตามเวลา

 

 

ชื่อเรื่อง         

สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

หน่วยที่    4  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเชื่อมไฟฟ้า

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สมรรถนะ :   -   ปฏิบัติการเริ่มต้นอาร์คด้วยความปลอดภัย

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

ด้านความรู้

  1. อธิบายถึงการปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟ้าด้วยความปลอดภัยได้
  2. บอกชนิดและหน้าที่ของเครื่องมือ  อุปกรณ์ในงานเชื่อมไฟฟ้าได้
  3. อธิบายชนิดและลักษณะเครื่องเชื่อมไฟฟ้าได้

 

ด้านทักษะ

  1. ปฏิบัติการประกอบติดตั้งเครื่องมือ  อุปกรณ์ในงานเชื่อมไฟฟ้าได้
  2. ปฏิบัติการเริ่มต้นอาร์คได้

 

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง

  1. ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง และสำเร็จภายใน เวลาที่กำหนดอย่างมีเหตุและผลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  
    1. ช่วยเหลือเพื่อนด้วยการช่วยกันสรุปเพื่อความรู้ความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
    2. เข้าเรียนตรงตามเวลา

 

 

ชื่อเรื่อง          

สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

หน่วยที่   5  กระบวนการเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลั๊กซ์

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สมรรถนะ :  -     แสดงการเชื่อมแนวท่าราบอย่างปลอดภัย

-                   ปฏิบัติการเชื่อมทับแนวอย่างปลอดภัย

-                   ปฏิบัติการเชื่อมเดินแนวส่ายลวดเชื่อมอย่างปลอดภัย

-                   ปฏิบัติการเชื่อมต่อชนอย่างปลอดภัย

-                   ปฏิบัติการเชื่อมต่อตัวทีอย่างปลอดภัย

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

ด้านความรู้

  1. อธิบายกระบวนการเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดหุ้มฟลั๊กซ์ได้
  2. บอกชนิดและหน้าที่ของลวดเชื่อมหุ้มฟลั๊กซ์ได้
  3. อธิบายลักษณะการต่อขั้วของเครื่องเชื่อมไฟฟ้าได้
  4. บอกองค์ประกอบการเชื่อมไฟฟ้าได้
  5. อธิบายลักษณะรอยต่อในการเชื่อมไฟฟ้าได้
  6. อธิบายลักษณะของท่าเชื่อมในงามเชื่อมไฟฟ้าได้

 

ด้านทักษะ

  1. ปฏิบัติการเชื่อมไฟฟ้าเดินแนวท่าราบได้
  2. ปฏิบัติการเชื่อมเดินแนวแบบสายลวดเชื่อมได้
  3. ปฏิบัติการเชื่อมต่อชนและเชื่อมต่อตัวทีได้

 

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง

  1. ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง และสำเร็จภายใน เวลาที่กำหนดอย่างมีเหตุและผลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  
    1. ช่วยเหลือเพื่อนด้วยการช่วยกันสรุปเพื่อความรู้ความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
    2. เข้าเรียนตรงตามเวลา

 

 

ชื่อเรื่อง         

สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

หน่วยที่   6  ความรู้เบื้องต้นในงานโลหะแผ่น

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สมรรถนะ :       -      แสดงการพับขอบและตะเข็บ

                          -      จำแนกเครื่องมือและอุปกรณ์ พร้อมทั้งบอกถึงการนำไปใช้

 

 

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

ด้านความรู้

  1. บอกกฎความปลอดภัยในงานโลหะแผ่นได้
  2. บอกชนิดและหน้าที่ของเครื่องมืออุปกรณ์ในงานโลหะแผ่นได้
  3. อธิบายลักษณะของเครื่องมือและเครื่องจักรในงานโลหะแผ่นได้
  4. บอกชนิดและหน้าที่ของเครื่องมือและเครื่องจักรในงานโลหะแผ่นได้

 

ด้านทักษะ

  1. ปฏิบัติการพับขอบและตะเข็บได้

 

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง

  1. ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง และสำเร็จภายใน เวลาที่กำหนดอย่างมีเหตุและผลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  
    1. ช่วยเหลือเพื่อนด้วยการช่วยกันสรุปเพื่อความรู้ความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
    2. เข้าเรียนตรงตามเวลา

 

 

ชื่อเรื่อง          

สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

หน่วยที่   7   การเขียนแบบแผ่นคลี่อย่างง่าย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สมรรถนะ :  -    เขียนแบบและร่างแบบแผ่นคลี่อย่างง่ายลงบนชิ้นงาน

                     

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

ด้านความรู้

  1. อธิบายลักษณะของตะเข็บและขอบของงานโลหะแผ่นได้
  2. บอกลักษณะของการเขียนแบบแผ่นคลี่แต่ละวิธีได้
  3. เลือกวิธีการเขียนแบบแผ่นคลี่ที่เหมาะสมกับงานได้

 

ด้านทักษะ

  1. ปฏิบัติงานเขียนแบบแผ่นคลี่ได้
  2. ปฏิบัติการพับขอบและตะเข็บได้

 

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง

  1. ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง และสำเร็จภายใน เวลาที่กำหนดอย่างมีเหตุและผลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  
    1. ช่วยเหลือเพื่อนด้วยการช่วยกันสรุปเพื่อความรู้ความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
    2. เข้าเรียนตรงตามเวลา

 

 

ชื่อเรื่อง         

สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

หน่วยที่   8  การบัดกรีและย้ำหมุด

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สมรรถนะ :  -    ขึ้นรูปประกอบงานสี่เหลี่ยมปากเฉียง

-                   ขึ้นรูปประกอบงานกระป๋อง

 

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

ด้านความรู้

  1. อธิบายกระบวนการบัดกรี  ในงานโลหะแผ่นได้
  2. อธิบายกระบวนการย้ำหมุดในงานโลหะแผ่นได้

 

ด้านทักษะ

  1. ปฏิบัติการขึ้นรูปประกอบงานโลหะแผ่นสี่เหลี่ยมปากเฉียงได้
  2. ปฏิบัติการขึ้นรูปประกอบงานกระป๋องได้

 

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง

  1. ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง และสำเร็จภายใน เวลาที่กำหนดอย่างมีเหตุและผลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  
    1. ช่วยเหลือเพื่อนด้วยการช่วยกันสรุปเพื่อความรู้ความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
    2. เข้าเรียนตรงตามเวลา

 

 

 

 

 

 

 

 

ชื่อเรื่อง         

สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

หน่วยที่   9   การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์โลหะ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สมรรถนะ :   เขียนแบบและขึ้นรูปประกอบงานกรวย

 

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

ด้านความรู้

  1. อธิบายลักษณะการขึ้นรูปผลิตภัณฑ์โลหะได้
  2. บอกเทคนิควิธีการประกอบงานผลิตภัณฑ์โลหะได้

 

ด้านทักษะ

  1. ปฏิบัติงานขึ้นรูปประกอบงานกระป๋องได้
  2. ปฏิบัติการขึ้นรูปประกอบงานกรวยได้

 

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง

  1. ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง และสำเร็จภายใน เวลาที่กำหนดอย่างมีเหตุและผลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  
    1. ช่วยเหลือเพื่อนด้วยการช่วยกันสรุปเพื่อความรู้ความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
    2. เข้าเรียนตรงตามเวลา

 

 

 

 

 

 

 

 

โครงการสอน

   วิชา งานเชื่อมและโลหะแผ่น 2100-1005                                                   2  หน่วยกิต  4 ชั่วโมง

สัปดาห์ที่

 

 

รายการสอน

 

 

 

1

หน่วยที่ 1  ความรู้เบื้องต้นในการเชื่อมแก๊ส

1.1       ความปลอดภัยตามหลักอาชีวอนามัย

1.2       เครื่องมือและอุปกรณ์

1.3       การประกอบและติดตั้ง

ปฏิบัติงานใบงานที่ 1 การประกอบและการติดตั้ง

 

2

-

 

 

 

2

2

หน่วยที่ 2   กระบวนการเชื่อมแก๊สออกซิอะเซตทิลีน

2.1        แก๊สออกซิเจน

2.2        แกสอะเซตทิลีน

2.3        ระบบการจ่ายแก๊สหลายจุด

2.4        ความหมายของการเชื่อมแก๊ส

2.5        ชนิดเปลวไฟ

ปฏิบัติงานใบงานที่ 2 ปรับเปลวไฟ

ปฏิบัติงาน ใบงานที่ 3 สร้างบ่อหลอมละลาย

 

1

-

 

 

 

 

 

1

2

3

หน่วยที่ 2  กระบวนการเชื่อมแก๊สออกซิอะเซตทิลีน

2.6        ลักษณะรอยต่อ

2.7        รอยต่อและแนวเชื่อม

2.8        ท่าเชื่อม

ปฏิบัติงาน ใบงานที่ 4 เชื่อมต่อมุม

ปฏิบัติงานใบงานที่ 5  ต่อขอบ

 

1

-

 

 

 

1

2

4

ปฏิบัติงานใบงานที่ 6  เชื่อมเดินแนวท่าราบ

-

4

5

ปฏิบัติงานใบงานที่ 7  เชื่อมต่อตัวที

-

4

6

หน่วยที่ 3  การแล่นประสานและตัดเหล็กกล้าคาร์บอนด้วยแก๊ส

                 3.1 การตัดแผ่นเหล็กกล้าคาร์บอนด้วยแก๊ส

                        3.1.1  ความหมายตัดเหล็กกล้าคาร์บอนด้วยแก๊ส

                        3.1.2  เครื่องมือและอุปกรณ์

                        3.1.3  การประกอบและการติดตั้ง

                        3.1.4  ลักษณะรอยตัด

                        ปฏิบัติใบงานที่ 8  การตัดด้วยแก๊ส

1

-

 

 

 

 

 

3

7

 

 

 

 

 

 

 

 

 


8

 

 

 

 

 


9

 

 

 


10

 

 

 

 


11

 

 

 

 


12

13

 

 

 


14

 

 


15

 

 

 


16

 

 

 

 

 

 


17

 

 

 

 

18

หน่วยที่ 3  การแล่นประสานและตัดเหล็กกล้าคาร์บอนด้วยแก๊ส

                 3.2  การแล่นประสาน

                        3.2.1  ความหมาย

                        3.2.2  เครื่องมือและอุปกรณ์

                        3.2.3  วัสดุที่ใช้ในการแล่นประสาน

                        3.2.4  ลักษณะรอยต่อ

                        3.2.5  ข้อดีการแล่นประสาน

                        3.2.6  ลำดับการแล่นประสาน

                        3.2.7  ข้อควรระวังในการแล่นประสาน

                       ปฏิบัติใบงานที่ 9  การแล่นประสาน

หน่วยที่ 4 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานเชื่อมไฟฟ้า

                  4.1 ความปลอดภัยในการเชื่อมไฟฟ้าตามหลักอาชีว-  อนามัย

                  4.2 เครื่องมือและอุปกรณ์ในการเชื่อมไฟฟ้า

                  ปฏิบัติใบงานที่ 10 การเริ่มต้นอาร์ค

                 4.3 ประสิทธิภาพของเครื่องเชื่อม

หน่วยที่5 กระบวนการเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลั๊กซ์

                 5.1ความหมายการเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลั๊กซ์

                 5.2ลวดเชื่อมหุ้มฟลั๊กซ์

                 ปฏิบัติใบงานที่ 11เชื่อมเดินแนวท่าราบ           

   หน่วยที่ 5 กระบวนการเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลั๊กซ์                                   

                 5.3ประเภทลวดเชื่อมไฟฟ้าที่มีสารพอกหุ้ม

                 5.4การต่อขั้วเครื่องเชื่อมไฟฟ้ากระแสตรง

                 5.5ลักษณะการเชื่อม

                 ปฏิบัติใบงานที่ 12 เชื่อมเดินแนวท่าราบทับแนว

   หน่วยที่ 5 กระบวนการเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลั๊กซ์

                 5.6 องค์ประกอบสำหรับการเชื่อมไฟฟ้า

                 ปฏิบัติใบงานที่ 13 การเชื่อมเดินแนวแบบส่ายลวดเชื่อม

                ปฏิบัติใบงานที่ 14 การเชื่อมต่อชน

 ปฏิบัติงานใบงานที่ 15 การเชื่อมต่อตัวที

หน่วยที่ 6 ความรู้เบื้องต้นในงานโลหะแผ่น

                 6.1 ความปลอดภัยในงานโลหะแผ่น

                 6.2 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานโลหะแผ่น

                 ปฏิบัติงานใบงานที่ 16 การพับขอบและตะเข็บ

หน่วยที่ ที่ 6 ความรู้เบื้องต้นในงานโลหะแผ่น

                6. 2 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานโลหะแผ่น

               ปฏิบัติใบงานที่ 17 การเขียนแบบอย่างง่าย

หน่วยที่ 7 การเขียนแบบแผ่นคลี่อย่างง่าย

                7.1ตะเข็บและขอบงาน

                7.2 การเขียนแบบแผ่นคลี่อย่างง่าย

                ปฏิบัติงานใบงานที่ 18 การบัดกรีและย้ำหมุด

หน่วยที่ 8 การบัดกรีและย้ำหมุด

                   9.1 การบัดกรี

                   9.2 การย้ำหมุด

                  ปฏิบัติงานใบงานที่ 19เขียนแบบแผ่นงานงานสี่เหลี่ยมปากเฉียง

                 ปฏิบัติงานใบงานที่ 20 เขียนแบบลงแผ่นงานและขึ้นรูปประกอบงานกระป๋อง

หน่วยที่ 9 การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์โลหะ

                 9.1 วัสดุในงานขึ้นรูปผลิตภัณฑ์โลหะ

                 9.2  การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์

                 ปฏิบัติงานใบงานที่ 21 เขียนแบบและขึ้นรูปประกอบงานกรวย

วัดผลและประเมินผล

ซ่อมภาคปฏิบัติ

1

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1

 

 

 

 

1

 

 

 

 

1

 

 

 

 

1

 

 

 

 

-

1

 

 

 

1

 

 

1

 

 

 

1

 

 

 

 

 

 

1

 

 

 

 

1

-

 

 

 

 

 

 

 

 

3

-

 

 

 

3

-

 

 

 

3

-

 

 

 

3

-

 

1.30

 

1.30

4

-

 

 

3

-

 

3

-

 

 

3

-

 

 

1.30

 

1.30

 

-

 

 

3

 

3

 

 

                                                                                            รวมทฤษฎีและปฏิบัติ 72 ชั่วโมง





แผนการสอน/แผนการเรียนรู้ภาคทฤษฏี

 

แผนการสอน/การเรียนรู้ภาคทฤษฎี

หน่วยที่  1

ชื่อวิชา  งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น   

สอนสัปดาห์ที่  1

ชื่อหน่วย   ความรู้เบื้องต้นในการเชื่อมแก๊ส

คาบรวม  72

ชื่อเรื่อง.    1. ความรู้เบื้องต้นในการเชื่อมแก๊ส

1.1       ความปลอดภัยตามหลักอาชีวอนามัย

1.2       เครื่องมือและอุปกรณ์

1.3       การประกอบและติดตั้ง

ปฏิบัติใบงานที่   1   การประกอบและติดตั้ง  

จำนวนคาบ  4

หัวข้อเรื่อง

        ด้านความรู้      

  1. อธิบายความปลอดภัยตามหลักอาชีวอนามัยได้
  2. บอกสาเหตุและการเกิดอุบัติเหตุได้
  3. บอกกฎความปลอดภัยในทางเชื่อมแก๊สได้
  4. เรียกชื่อเครื่องมือของอุปกรณ์ในงานเชื่อมแก๊สได้
  5. อธิบายการประกอบ  ติดตั้ง  และบำรุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ์ในการเชื่อมแก๊สได้

        ด้านทักษะ

  1. ปฏิบัติงานประกอบและติดตั้งอุปกรณ์การเชื่อมแก๊สได้

        ด้านคุณธรรม จริยธรรม

  1. รักษาสมบัติวิทยาลัยฯ 
  2. ประหยัดพลังงานไฟฟ้า

 

สาระสำคัญ

             งานเชื่อมแก๊สถือเป็นพื้นฐานของการศึกษาด้านช่างอุตสาหกรรม โดยเฉพาะผู้ที่เริ่มต้นศึกษาและปฏิบัติงานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น จะต้องมีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานของความปลอดภัย เครื่องมือและอุปกรณ์ ซึ่งจะสามารถนำไปประยุกต์ใช้และศึกษาในขั้นต่อไป

 

 

สมรรถนะอาชีพประจำหน่วย (สิ่งที่ต้องการให้เกิดการประยุกต์ใช้ความรู้  ทักษะ  คุณธรรม เข้าด้วยกัน)            

                        ประกอบและติดตั้งอุปกรณ์การเชื่อมแก๊ส

 

จุดประสงค์การสอน/การเรียนรู้

  • จุดประสงค์ทั่วไป / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง    
  1. เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับ การอธิบายความปลอดภัยตามหลักอาชีวอนามัย  และสามารถนำผลการเรียนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันต่อไป   (ด้านความรู้) 
  2. เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับ สาเหตุและการเกิดอุบัติเหตุ  และสามารถนำผลการเรียนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันต่อไป   (ด้านความรู้) 
  3. เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับ กฎความปลอดภัยในทางเชื่อมแก๊ส  และสามารถนำผลการเรียนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันต่อไป   (ด้านความรู้) 
  4. เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับ ชื่อเครื่องมือของอุปกรณ์ในงานเชื่อมแก๊ส  และสามารถนำผลการเรียนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันต่อไป   (ด้านความรู้) 
  5. เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับ การประกอบ  ติดตั้ง  และบำรุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ์ในการเชื่อมแก๊สและสามารถนำผลการเรียนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันต่อไป   (ด้านความรู้) 
  6. เพื่อให้มีทักษะในการปฏิบัติงานประกอบและติดตั้งอุปกรณ์การเชื่อมแก๊ส  (ด้านทักษะ)
  7. เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่อการเตรียมความพร้อมด้านการเตรียม วัสดุ  อุปกรณ์  และการปฏิบัติงานอย่างถูกต้อง สำเร็จภายในเวลาที่กำหนด มีเหตุและผลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (ด้านคุณธรรม จริยธรรม)
  • จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
  1. อธิบายความปลอดภัยตามหลักอาชีวอนามัยได้  (ด้านความรู้) 
  2. บอกสาเหตุและการเกิดอุบัติเหตุได้  (ด้านความรู้) 
  3. บอกกฎความปลอดภัยในทางเชื่อมแก๊สได้  (ด้านความรู้) 
  4. เรียกชื่อเครื่องมือของอุปกรณ์ในงานเชื่อมแก๊สได้  (ด้านความรู้) 
  5. อธิบายการประกอบ  ติดตั้ง  และบำรุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ์ในการเชื่อมแก๊สได้  (ด้านความรู้) 
  6. ปฏิบัติงานประกอบและติดตั้งอุปกรณ์การเชื่อมแก๊สได้  (ด้านทักษะ)
  7. เตรียมความพร้อมด้าน วัสดุ  อุปกรณ์สอดคล้องกับงานได้อย่างถูกต้อง (ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง)
  8. การรักษาสมบัติของวิทยาลัยฯ การประหยัดพลังงานไฟฟ้า ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  (ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง)

 

เนื้อหาสาระการสอน/การเรียนรู้ 

•  ด้านความรู้(ทฤษฎี)

  1. อธิบายความปลอดภัยตามหลักอาชีวอนามัยได้  (จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-5)
  2. บอกสาเหตุและการเกิดอุบัติเหตุได้
  3. บอกกฎความปลอดภัยในทางเชื่อมแก๊สได้
  4. เรียกชื่อเครื่องมือของอุปกรณ์ในงานเชื่อมแก๊สได้
  5. อธิบายการประกอบ  ติดตั้ง  และบำรุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ์ในการเชื่อมแก๊สได้

•    ด้านทักษะ(ปฏิบัติ)  (จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่  6)

  1. ปฏิบัติงานใบงาน

              2.    แบบประเมินผลการเรียนรู้ ก่อน-หลังเรียน

              3.    แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน

 

• ด้านคุณธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณ/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 

                (จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 7-8)

   

               1.   การเตรียมความพร้อมด้านการเตรียม วัสดุ  อุปกรณ์นักศึกษาจะต้องกระจายงานได้ทั่วถึง  และตรง   ตามความสามารถของสมาชิกทุกคน   มีการจัดเตรียมสถานที่  สื่อ  วัสดุ อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรียง

  1. ความมีเหตุมีผลในการปฏิบัติงาน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  นักศึกษาจะต้องมีการใช้

เทคนิคที่แปลกใหม่  ใช้สื่อและเทคโนโลยี  ประกอบการ นำเสนอที่น่าสนใจ  นำวัสดุในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่าและประหยัด

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้

ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู

ขั้นตอนการเรียนรู้หรือกิจกรรมของนักเรียน

1.  ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน  ( 30 นาที )

          1.   ผู้สอนเตรียมตัวสอนหน่วยที่  1 เรื่อง  ความรู้เบื้องต้นในการเชื่อมแก๊ส

         2.    ผู้สอนแจ้งวัตถุประสงค์ของการเรียน  เรื่อง  ความรู้เบื้องต้นในการเชื่อมแก๊ส

3. ผู้สอนร่วมมือกับผู้เรียนยกตัวอย่างความจำเป็นของความรู้เบื้องต้นในการเชื่อมแก๊ส

 

4.  ผู้สอนให้ผู้เรียนทำแบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียน  หน่วยที่  1  เรื่อง  ความรู้เบื้องต้นในการเชื่อมแก๊ส หน้าที่  19-20  แล้วให้นักศึกษาสลับกันตรวจคำตอบ และให้คะแนน

 

 

2.  ขั้นให้ความรู้ (   60 นาที )

1.  ผู้สอนให้ผู้เรียนเปิดหนังสือ  งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น หน่วยที่  1  เรื่อง  ความรู้เบื้องต้นในการเชื่อมแก๊ส หน้าที่  1-18  พร้อมอธิบายเนื้อหาทีละหน้า

2.  ผู้สอนอธิบายความรู้เพิ่มเติมนอกเหนือจากหนังสือ  และให้ผู้เรียนช่วยกันอภิปรายความจำเป็นของความรู้เบื้องต้นในการเชื่อมแก๊ส

3.  ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถามข้อสงสัยที่เกิดขึ้นระหว่างการเรียนการสอน  และตอบข้อซักถาม

3.  ขั้นประยุกต์ใช้ ( 90 นาที )

1.  ผู้สอนให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ  4-5  คน  ทำปฏิบัติใบงานที่ 1 การประกอบและการติดตั้ง  หน้าที่  151-153

2. ผู้สอนให้ตัวแทนผู้เรียนนำเสนอผลการทำกิจกรรมกลุ่ม

 

      3.  ผู้สอนให้ผู้เรียนสืบหาความรู้เพิ่มเติมจากอินเทอร์เน็ต นัดหมายการส่งงาน

4.  ขั้นสรุปและประเมินผล (60  นาที )

1. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่ได้เรียนให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน พร้อมร่วมกันอภิปรายปฏิบัติใบงานที่ 1 การประกอบและการติดตั้ง

2.  ครูให้ผู้เรียนทำแบบประเมินผลการเรียนรู้หลังเรียน  หน่วยที่ 1  เรื่อง  ความรู้เบื้องต้นในการเชื่อมแก๊ส

3. ครูตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้หลังเรียนพร้อมกับบันทึกคะแนน

 

 

 

 

(บรรลุจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-8)

 

 

(รวม  240   นาที หรือ  4    คาบเรียน)

 

 

 

1.  ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน  ( 30 นาที )

        1.  ผู้เรียนเตรียมตัวเรียนหน่วยที่  1  เรื่อง  ความรู้เบื้องต้นในการเชื่อมแก๊ส

         2.   ผู้เรียนทำความเข้าใจเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการเรียน  เรื่อง  ความรู้เบื้องต้นในการเชื่อมแก๊ส

3. ผู้เรียนร่วมมือกับผู้สอนยกตัวความจำเป็นของความรู้เบื้องต้นในการเชื่อมแก๊ส  และเตรียมตัวทำแบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียน  หน่วยที่  1

4.  ผู้เรียนทำแบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียน  หน่วยที่  1  เรื่อง  ความรู้เบื้องต้นในการเชื่อมแก๊ส หน้าที่  19-20   แล้วสลับกันตรวจคำตอบด้วยความซื่อสัตย์

 

 

2.  ขั้นให้ความรู้ (  60 นาที )

1.    ผู้เรียนเปิดหนังสือ  งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น  หน่วยที่  1  เรื่อง  ความรู้เบื้องต้นในการเชื่อมแก๊ส  หน้าที่  1-18  พร้อมกับจดบันทึกเนื้อที่ได้เรียน

 

          2.    ผู้เรียนฟังผู้สอน เรื่อง ความรู้เบื้องต้นในการเชื่อมแก๊ส และช่วยผู้สอนอภิปรายความจำเป็นของความรู้เบื้องต้นในการเชื่อมแก๊ส

 3.    ผู้เรียนซักถามข้อสงสัยที่เกิดขึ้น

 

 

3.  ขั้นประยุกต์ใช้ (  90  นาที )

1.  ผู้เรียนเข้ากลุ่ม  ทำปฏิบัติใบงานที่ 1 การประกอบและการติดตั้ง  หน้าที่  151-153  ตามที่ผู้สอนกำหนด

2. ผู้เรียนนำเสนอผลการทำกิจกรรมกลุ่ม ร่วมอภิปรายซักถาม จนเป็นที่ยอมรับของผู้เรียนทั้งห้อง และเป็นที่เข้าใจตรงกัน

3.  ผู้เรียนสืบหาความรู้เพิ่มเติมจากอินเทอร์เน็ต  ส่งงานให้ตรงตามเวลาที่ได้รับมอบหมาย

4.  ขั้นสรุปและประเมินผล ( 60   นาที )

      1. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่ได้เรียนให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน ร่วมกันอภิปรายปฏิบัติงานที่ 1 การประกอบและการติดตั้ง

 

      2.  ผู้เรียนทำแบบประเมินผลการเรียนรู้หลังเรียน  หน่วยที่  1  เรื่อง  ความรู้เบื้องต้นในการเชื่อมแก๊ส ด้วยความซื่อสัตย์

 3.  ผู้เรียนนำคะแนนจากแบบประเมินการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียนมาเปรียบเทียบกันว่าเป็นอย่างไรมีผลต่างกันอย่างไร เพื่อดูความก้าวหน้าของตนเอง

 

 

(บรรลุจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-8)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

งานที่มอบหมายหรือกิจกรรมการวัดผลและประเมินผล

 

  1.  ก่อนเรียน
    1. จัดเตรียมเอกสาร สื่อการเรียนการสอนตามที่อาจารย์ผู้สอนและบทเรียนที่กำหนด 
    2. ทำแบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียน เรื่อง ความรู้เบื้องต้นในการเชื่อมแก๊ส  แล้วสลับกันตรวจคำตอบ
    3. ทำความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การเรียนของหน่วยที่ 1  และการให้ความร่วมมือในการทำ

                             แบบประเมินผลการเรียนรู้ หน่วยที่ 1

  

 

  1.  ขณะเรียน
    1. ปฏิบัติตาม  “ปฏิบัติใบงานที่ 1 การประกอบและการติดตั้ง”
    2. ร่วมกันสรุป “ความจำเป็นของความรู้เบื้องต้นในการเชื่อมแก๊ส” 
    3. ร่วมอภิปรายความจำเป็นของความรู้เบื้องต้นในการเชื่อมแก๊ส

 

 

 

 

  • หลังเรียน
  1. ทำแบบประเมินผลการเรียนรู้หลังเรียน
  2. ทำแบบประเมินผลการปฏิบัติ  ใบงานที่ 1

 

 

 

 

 

ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสำเร็จของผู้เรียน

                             การอภิปรายความจำเป็นของความรู้เบื้องต้นในการเชื่อมแก๊ส

 

 

KMe : วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา เลขที่ 94 หมู่ 6 ถ.โรจนะ ต.ไผ่ลิง อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000
Tel.0-3533-5873 หรือ 06-5771-4555 Fax. 0-3533-5873 ต่อ 100 Email: atcc@atcc.ac.th