ใบความรู้หน่วยที่ 4

หน่วยที่ 4

คิวรี ( Query )

 

วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives)

หลังจากที่ศึกษาจบบทเรียนนี้แล้ว นักศึกษาจะมีความสามารถดังนี้

(After studying this chaper ,you will be able to )

1. อธิบายการเรียกค้นดูทุกคอลัมน์ในตาราง

2. เรียกค้นหาข้อมูลเฉพาะคอลัมน์ในตาราง

3. เข้าใจการเรียกข้อมูลเฉพาคอลัมน์ในตารางและการเปลียนลำดับคอลัมน์

4. บอกวิธีการใช้คำสั่ง SELECT กับ WHERE

5. ศึกษาเชิงปฎิบัติการ การแบ่ง กลุ่มโอเปอรเรเตอร์

6. แสดงตัวอย่างประภทของฟังก์ชัน

7. ศึกษาการเรียกดูข้อมูลในรูปแบบต่าง

8. จัดบอร์ดเชิงปฎิบัติการ “คิวรี (Query ):

9. สนทนาเชิงปิบัติการ โอเปอเรตเตอร์

10. สนทนาเชิงปฎิบัติการ ฟังก์ชั่นวันเวลา

11. สนทนาเชิงปฎิบัติการ ฟังชั่นตัวอักขระ

12. อธิบายคำศัพย์ ได้ 14 คำ

 

คิวรี ( Query )


การสอบถามข้อมูล หรือ “ Query” คือ การนำข้อมูลจากฐานข้อมูลมาแสดงออกทาง จอภาพ การสอบถามข้อมูลนี้ในภาษา Transaction – SQL

 

ตัวอย่าง แสดง/เรียกค้นดูข้อมูลจากเทเบิล Check

การแสดงบ้างฟิลด์จากเทเบิล

ตัวอย่าง แสดง/เรียกค้นดูข้อมูลจากฟิลด์ Check และ Amount จากตาราง Checks

การแสดงข้อมูลโดยการเปลี่ยนลำดับคอลัมน์ของข้อมูล

การเรียกค้นข้อมูลกับคำสั่ง Distinction 

ดังรูปด้านล่าง

-           จะเห็นได้ว่า คำสั่งนี้ จะไม่แสดงค่าซ้ำกัน

การใช้คำสั่ง Select กับ Where

การ ใช้ Whereในคำสั่ง select จะช่วยให้สามารถสืบค้นข้อมูลได้อย่างเจาะจงมากกว่า เช่นถ้าใช้เฉพาะ Select อย่างเดียวจะโชว์ค่าทั้งหมด แต่ถ้าใช้ เงื่อนไข WHERE จะได้ผลดังรูปด้านล่าง

โอเปอเรเตอร์

การ เรียกค้นข้อมูลอย่างมีเงื่อนไขตามหลัก SQL จะอยุ่หลังคำสั่ง WHERE ซึ่งสามารถเปรียบเทียบตามโอเปอเรเตอร์ในภาษาSQL อาจแบ่งโอเปอเรเตอร์ได้ 4กลุ่มดังนี้

-           โอเปอเรเตอร์คณิตศาสตร์

-           โอเปอเรเตอร์เปรียบเทียบ

-           โอเปอเรเตอร์อักขระ

-           โอเปอเรเตอร์ตรรกะ

 

 

โอเปอเรเตอร์คณิตศาสตร์ ประกอบไปด้วย +,-,*,/

โอเปอเรเตอร์คณิตศาสตร์แบบ (+)

ตัวอย่างดังรูปด้านล่าง

โอเปอเรเตอร์คณิตศาสตร์แบบ (*)

ตัวอย่างดังรูปด้านล่าง

โอเปอเรเตอร์คณิตศาสตร์แบบ (-)

ตัวอย่างดังรูปด้านล่าง

 

ถ้าต้องการนำคอลัมน์ Hightemp ลบออกจากคอลัมน์ Lowtemp แล้วนำผลลัพธ์ที่ได้แสดงในคอลัมน์ Difference โดยใช้คำสั่งดังรูปด้านล่าง

โอเปอเรเตอร์คณิตศาสตร์แบบ (/)

ตัวอย่างดังรูปด้านล่าง

โอเปอเรเตอร์คณิตศาสตร์แบบ (*)

ตัวอย่างดังรูปด้านล่าง

โอเปอเรเตอร์เปรียบเทียบ

เช่นถ้าต้องการดูว่า Item ที่มีค่า Wholesale หรือค่า Wholesale เป็นค่าว่างจะใช้คำสั่งดังรูปด่านล่าง

โอเปอเรเตอร์ชนิดตัวอักษร

โอ เปอเรเตอร์ชนิดตัวอักษรเป็นลิ้งค์เป็นการค้นหาข้อมูลประเภทตัวอักษรเท่านั้น โดยไม่ทราบว่าค่าข้อมูลทั้งหมดที่จะค้นหาหรือรู้เพียงบางตัวเท่านั้น โอเปอเรเตอร์ชนิดนี้จะใช้สัญลักษณ์ 2ตัวคือ

-           % ใช้แทนจำนวนอักษรได้หลายตัว

-           _ ใช้แทนจำนวนที่ไม่ทราบค่า 1 ตัว

ตัวอย่างการใช้งานสามารถดูได้ดังรูปด้านล่าง

โอเปอเรเตอร์ตรรกะ เป็นโอเปอเรเตอร์ที่ใช้เปรียบเทียบเชื่อมโยง 2 ค่า

สามารถดูตัวอย่างการใช้งานได้ดังรูปด้านล่าง

    ตัวโอเปอเรเตอร์ AND เป็นตัวโอเปอเรเตอร์ที่ใช้เชื่อมโยง 2 ค่าดังตัวอย่างด้านล่าง

          ตัวโอเปอเรเตอร์ OR ในการเปรียบเทียบถ้าสิ่งที่นำมาเปรียบเทียบสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นจริง จะได้ผลลัพธ์ออกมาเป็นจริง ดังตัวอย่างด้านล่าง

ตัวโอเปอเรเตอร์ NOT ในการเปรียบเทียบถ้าสิ่งที่นำมาเปรียบเทียบเป็นจริงจะได้ผลลัพธ์ออกมาเป็น เท็จ แต่ถ้าสิ่งที่นำมาเป็นเท็จผลที่ออกมาจะเป็นจริง ดังตัวอย่างด้านล่าง

ถ้าต้องการให้แสดงเฉพาะข้อมูลที่มีค่าเท่านั้นจะใช้คำสั่ง NOT NULL มาร่วมกับ NULL เพื่อแสดงเฉพาะข้อมูลที่มีคำสั่งต่อไปนี้

โอเปอเรเตอร์ IN เป็นการกำหนดเซ็ทของสิ่งที่ต้องการค้นหา โดยการกำหนดชื่อของสมาชิกเซ็ทลงไปในวงเล็บและแยกจากกันด้วยคอมม่า

หรือสามารถใช้ได้อีกแบบหนึ่งคือ

โอเปอเรเตอร์ between….and….เป็นการกำหนดเงื่อนไขของคอลัมน์ระหว่างค่าสองค่า ซึ่งค่าทั้งสองที่อยู่ระหว่างคำสั่ง between….and…. นั้นจะมีความหมายว่าเท่ากับหรือมากกว่าและเท่ากับหรือน้อยกว่า

ดังตัวอย่างด้านล่าง

ถ้าใช้คำสั่ง Berween จะได้ดังนี้

ฟังก์ชัน(Function) มี 6 ประเภท

  1. ฟังก์ชันการรวม (Affrefate Functions)
  2. ฟังก์ชันวันเวลา(Data and Tune Functions)
  3. ฟังก์ชันคณิตศาสตร์(Arithmetic Functions)
  4. ฟังก์ชันตัวอักขระ(Character Functions)
  5. ฟังก์ชั่นการแปลง(Conversion Functions)
  6. ฟังก์ชั่นอื่นๆ(Miscellaneous Functions)

1.ฟังก์ชันการรวม (Affrefate Function) มีทั้งหมด 5 ฟังก์ชัน
Count: ใช้นับจำนวนแถว
Sum: รวมค่าในฟิลด์ต่าง ๆ ตามที่กำหนด
Avg: หาค่าเฉลี่ย(นำค่าในฟิลด์ต่าง ๆ มารวมกันแล้วหารด้วยจำนวนแถว)
Max: หาค่าสูงสุด
Min: หาค่าต่ำสุด
Var: หาค่า Variance หรือส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานยกกำลังสอง
Stdev : หาค่า Standard Devision ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

                ตัวอย่าง ถ้าต้องการนับจำนวนแถวทั้งหมดของ ตาราง Team Game โดยนับเป็นเฉพาะแถวที่ His หารดัวย AB แล้วมีค่าน้อยกว่า 0.35 ดูได้ดังรูปด้านล่าง

ตัวอย่าง ที่ 2 เหมือนกับตัวอย่างแรก แต่แตกต่างตรงที่ ตัวอย่างที่ 2 จะตั้งชื่อให้กับ คอลัมน์ที่นบได้ชื่อ Num_below_350 ดังรูปด่านล่าง

ตัวอย่างนี้ ให้ ตัว ฟังก์ชั่น Count นับจำนวนคอลัมน์จาก ฟิลด์ Name เพียงฟิลด์เดียว ดังรูปด้านล่าง

ตัวอย่างนี้ ต้องการนับว่า ข้อมูลในตาราง TeamGame มี่จำนวนทั้งหมดกี่แถว ดังรูปด่านล่าง

ฟังก์ชั่น SUM เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้ในการหาผลรวมของคอลัมน์ นั้นที่เก็บข้อมูลเป็นชนิดตัวเลขเท่านั้น

ตัวอย่างนี้ ถ้าต้องการหาผลรวมของคอลัมน์ Singles จากตาราง TeamGame โดยให้แสดงคอลัมน์ผลรวมชื่อว่า Total_singles ดังรูปด้านล่าง

ตัวอย่าง นี้ ให้หารวมรวมของแต่ละฟิลด์ดังนี้ Singles,Doubles, Triples, HR จากตาราง TeamGame

โดยแสดงคอลัมน์ของผลรวมที่ได้ในชื่อ Total_singles Total_doubles Total_triples Total_HR ดังรูปด้านล่าง

ตัวอย่างนี้เหมือนกับตัวอย่างด้ายลน แต่มี เงื่อนไขว่า Hits หารด้วย AB มากกว่าหรือเท่ากับ 0.300  ดังรูปด้านล่าง

ฟังก์ชั่น AVG เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้ในการหาค่าเฉลี่ยของคอลัมน์นั้นๆ

ตัวอย่างนี้ ต้องการหาค่าเฉลี่ยของ Hils ให้แสดงในชื่อ Hit_AVERAGE ดังรูปด้านล่าง

ฟังก์ชั่น Max เป็นฟังก์ชั่นในการหาค่าสูงสุดของคอลัมน์นั้นๆ

ตัวอย่าง ต้องการหาว่าในคอลัมน์ Hits มีค่าสูงสุดเท่าใด ดังรูปด้านล่าง

ตัวอย่างถ้าต้องการหาว่าใครเป็นผู้ที่ได้ Hist สูดสุด ดังรูปด้านล่าง

ตัวอย่างการใช้ MAX ในข้อมูลชนิก อักขระ เช่น การหา ค่าสูงสุดของ ฟิลด์ที่ชื่อว่าName ดังรูปด้านล่าง

ฟังก์ชั่น Min เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้ในการหาค่าต่ำสุดของคอลัมน์นั้นๆ

ตัวอย่าง ต้องการหาค่าต่ำสุดของ ฟิลด์ AB ดังรูปด้านล่าง

ตัวอย่างการใช้ min กับข้อมูลที่เป็นชนิด อักขระ ดังรูปด้านล่าง

ตัวอย่างถ้าต้องการ โชว์ค่า ต่ำสุดและสูงสุดของฟิลด์ AB ดูได้ดังรูป

ฟังก์ชั่น Variance เป็นฟังก์ชั่นในการหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานยกกำลัง 2ในคอลั่มน์นั้นๆ

ตัวอย่าง ต้องการหาค่า Variance ของคอลั่มน์ Hist ดังรูปด้านล่าง

ฟังก์ชั่น STDEV หรือ ฟังก์ชั่นส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานคือ การหารากที่ 2ของผลรวมในคอลั่มน์นั้นๆ

ตัวอย่าง ต้องการหาส่วนเบี่ยงเบนของ ฟิลด์ Hits ดังรูปด้านล่าง

ตัวอย่างถ้าต้องการ หาค่าเฉลี่ย ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าส่วนเบี่ยงเบน และค่าวาเรียน ในฟิลด์ AB ดูได้ดังรูปด้านล่าง

ฟังก์ชั่น วันเวลา (Date and Time Function)

        เป็นกลุ่มฟังก์ชั่นที่แสดงข้อมูลออกมาเป็นวันและเวลา

ตัวอย่าง ดังรูปด้านล่าง

ฟังก์ชั่น Add_Months(X,Y) เป็นฟังก์ชั่นที่ต้องการบวกจำนวนเดือน Y

ตัวอย่าง ดังรูปด้านล่าง

ตัวอย่าง ถ้าต้องการหาว่างานใดบ้างที่มีระยะ การทำงานไม่เกิน 1เดือนจะใช้คำสั่ง ดังรูปด้านล่าง

ฟังก์ชั่น Last_Day(x)เป็นฟังก์ชั่นที่แสดงวันสุดท้ายของเดือนในคอลัมน์(x)

        ตัวอย่าง ถ้าต้องการแสดงวันสุดท้ายของเดือนจะใช้คำสั่ง ดังรูปด้านล่าง

ฟังก์ชั่น Months_between(x,y)เป็นฟังก์ชั่นที่คำนวณค่าระหว่าง X และY โดยมี่หน่าวเป็นเดือน

        ตัวอย่าง ถ้าต้องการคำนวณค่าระหว่างคอลัมน์ Stardate กับคอลัมน์ Enddate ว่ามีระยะเวลาห่างกันกี่เดือน ดังรูปด้านล่าง

เป็นการหาค่าเหมือนดังตัวอย่างข้างต้น แต่จะนำคอลัมน์ Enddate  เป็นค่าเริ่มต้น ดังรูปด้านล่าง

ตัวอย่าง ถ้าต้องการหาว่าค่าเริ่มต้นก่อนวันที่ 15 MAY 2006 ดังรูปด้านล่าง

ฟังก์คณิตศาสตร์ (Arithmetic Functions)เป็นกลุ่มคำสั่งที่เกี่ยวกับการคำนวณทางคณิต

ตัวอย่าง ตาราง Numbers

ฟังก์ชัน ABS ( X) เป็นฟังก์ชันในการหาค่าสมบูรณ์ของ X

ตัวอย่าง  ต้องการหาค่าสมบูรณ์ในคอลัมน์ A

 

ฟังก์ชัน CELL(X) and  FLOOR ( X)

 

ฟังก์ชัน Ceil (X) เป็นฟังก์ชันที่ให้ค่าตัวเลขจำนวนเต๊มที่มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับค่าในคอลัมน์(X)

 

ฟังก์ชัน Floor (X) เป็นฟังก์ชันที่ให้ค่าตัวเลขจำนวนเต็มที่พิจราณาจากค่าในคอลัมน์ X ถ้าจุดทศนิยมมีค่ามากกว่า 5 ก็จะให้ค่าที่มากขึ้น แต่ถ้าหลังจุดทศนิยมมีค่าน้อยกว่า 5 จะได้ค่าตัวเลขที่มีค่าน้อยลง

ตัวอย่าง  ถ้าต้องการหาตัวเลขจำนวนเต็มที่มีค่ามากกว่าหรือเท่ากกับค่าในคอลัมน์ B ดังรูปด้านล่าง

ตัวอย่าง ถ้าต้องการหาค่าตัวเลขจำนวนเต็มในคอลัมน์ A โดยถ้าหลังจุดทศนิยมมีอยู่มากกว่า 5 ก็จะให้ค่าจำนวนเต็มที่มากขึ้น แต่ถ้าหลังจุดทศนิยม มีค่าน้อยกว่า 5 ก็จะให้ค่าตัวเลขที่มีค่าน้อยลง ดังรูปด้านล่าง

ฟังก์ชัน COS (X),COSH (X),SIN(X),SINH(X),TAN(X), เป็นฟังก์ชันทางตรีโกนที่หาค่า Cosine, Hyperboliccsine, Sine,Hyperbolicsine, Tangent,Hyperbolic Tangent ที่มีค่า X เป็นองศาเรเดียน ( Radians,)โดย 360 Degrees = 2 Pile Radians,)

ตัวอย่าง  ถ้าต้องการหาค่า COS ของมุมในคอลัมน์ A

ฟังก์ชัน EXP ( X) เป็นฟังก์ชันหาค่า e ยกกำลัง X

ตัวอย่าง  ถ้าต้องการหาค่า e ยกกำลังของขอ้มูลในคอลัมน์ A

ฟังก์ชัน MOD ( X ,Y)  เป็นฟังก์ชันที่แสดงเศษที่เกิดข้อมูล X หารด้วย Y

ตัวอย่าง  ถ้าต้องการ หาเศษ ของ A หารด้วย B โดยแสดงคอลัมน์ A, B และคอลัมน์ เศษที่เหลือ

ฟังก์ชัน POWER (X,Y) เป็นฟังก์ชัน ในการยกกำลัง โดย X เป็นเลขฐานและ Y จะเป็นเลขยกกำลัง

ตัวอย่าง  ถ้าต้องการหาคอลัมน์ A ยกกำลังคอลัมน์ B 

ฟังก์ชัน SING ( X) เป็น ฟังก์ชัน ที่

-ให้ค่าเฉลี่ย เป็น-1 ถ้า X มีค่าน้อยกว่า 0

-ให้ค่าเป็น 0 ถ้า X มีค่าเท่า 0

- ให้ค่าเป็น  1 ถ้า  X มีค่ามากกว่า 0

 ตัวอย่าง  ถ้าต้องการ หาฟังก์ชัน SIGN ในการหาค่าข้อมูล ในคอลัมน์ A

ฟังก์ชัน SQRT (X) เป็นฟังก์ชันในการหาค่ารากที่ 2 ของ X

ตัวอย่าง  ถ้าต้องการหารรากที่ 2 ของข้อมูล ในคอลัมน์ A

ฟังก์ชันตัวอักขระ ( Character Functions)

เป็นฟังก์ชันที่ใช้สำหรับจัดการข้อมูลอักขระ โดยที่มีตัวแปลจริงเป็นชนิดอักขระหรือชนิดตัวเลขและให้ผลการคำนวณเป็นค่า อักขระหรือค่าตัวเลข

ตัวอย่าง ตาราง  Character

ฟังก์ชัน CHR เป็นฟังก์ชันสำหรับเปลี่ยนนิพนจ์อักขระให้เป็นรหัส ASCIIค่าที่ได้จากฟังก์ชันนี้จะเป็นค่ารหัส ASCII

 ตัวอย่าง  ถ้าต้องการเปลี่ยนค่าตัวเลขในคอลัมน์ Code ให้เป็นอักษร

ฟังก์ชัน   LOWER () and UPPER ()ฟังก์ชัน LOWER () เป็นฟังก์ชันที่เปลี่ยนตัวอักขระ () เป็นอักขระตัวเล็กฟังก์ชัน UPPER () เป็นฟังก์ชันที่เปลี่ยนตัวอักขระ ()เป็นอักขระตัวใหญ่

ตัวอย่าง   ถ้าต้องการเปลี่ยนแปลงตัวอักขระในคอลัมน์ Firstname จากอักขระตัวเล็กให้เป็นอักขระตัวใหญ่ทุกแถว ถ้าใช้คำสั่ง Update ดังรูปด้านล่าง

ฟังก์ชัน Replace ( ,X,Y) เป็นฟังก์ชันในการแทนค่าอักอักขระ X โดยการค้นหาตัวอักขระที่ต้องการแทนที่แล้วแทนที่ด้วย Y ที่ต้องการ

ตัวอย่าง ถ้าต้องการหาตัวอักษร ST ในคอลัมน์ Lastname แล้วแทนที่ด้วย *****

ฟังก์ชัน SUBSTR (,xy) เป็นฟังก์ชันที่นำตัวอักษร ( )ในตำแหน่งที่ x

ตัวอย่าง  ถ้าต้องนำอักษรตั้งแต่ตำแหน่ง ที่ 2 มาแสดง 3 ตำแหน่ง ของคอลัมน์ Firstname

ฟังก์ชันการแปลง ( Conversion Functions)

ฟังก์ชัน TO_ CHAR จะทำการแปลง Data Type ที่เป็นตัวอักษร