ใบความรู้หน่วยที่ 3

หน่วยที่ 3

การจัดการฐานข้อมูล

 

วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (Bahavioral Objectives)

หลังจากศึกษาจบบทเรียนนี้แล้ว นักศึกษาจะมีความสามารถดังนี้

1. ศึกษาประเภทคำสั่งของภาษา SQL

2. แบ่งประเภทคอนสเตรนท์ (Constraint)

3. อธิบายหลักเกณฑ์การสร้าง Primary Key โดย Enterprise Manager

4. สร้าง Foreign Key โดย Enterprise Manager

5. ลบ Foreign Key โดย Enterprise Manager

6. สร้าง Primary Key โดย Foreign Key โดย Transaction – SQL

7. แสดงตัวอย่างการแก้ไขเทเบิลโดยเพิ่ม Primary Key และ Foreign Key

โดย Transaction – SQL

8. สร้าง Unique โดย Enterprise Manager

9. สร้าง Check โดย Enterprise Manager

10. สร้าง Unique และ Check โดย Transaction – SQL

11. ยกตัวอย่างการ Disable และ Enable คอนสเตรนท์โดย Transaction –SQL

12. ลบคอนสเตรนท์โดย Transaction - SQL

13. จัดการข้อมูลในเทเบิล

14. เพิ่มข้อมูลลงในเทเบิลโดย Enterprise Manager

15. แก้ไขข้อมูลลงในเทเบิลโดย Transaction – SQL

16. สร้าง View สำหรับข้อมูล

17. ระบุข้อจำกัดวิว

18. สร้างวิวโดย Enterprise Manager

19. จัดบอร์ดเชิงปฏิบัติการ “การจัดการฐานข้อมูล”

20. สนทนาเชิงปฏิบัติการ “การกำหนดออปชั่นให้กับดาต้าเบส”

21. อธิบายคำศัพท์ได้ 14 คำ

 

บทที่ 3 การจัดการฐานข้อมูล

 

คำสั่งของภาษา

 

ภาษา SQL (สามารถอ่านออกเสียงได้ 2 แบบ คือ “เอสคิวแอล” (SQL) หรือ “ซีเควล” (Sequel) ย่อมมาจาก Structured Query Language หรือภาษาในการสอบถามข้อมูล เป็นภาษาทางด้านฐานข้อมูล ที่สมารถสร้างและปฏิบัติการกับฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ (Relational Database) โดยเฉพาะ และเป็นภาษาที่มีลักษณะคลายกับภาษาอังกฤษ ภาษา SQL ถูกพัฒนาขึ้นจากแนวคิดของ Relational Calculus และ Relational Algebra เป็นหลัก ภาษา SQL เริ่มพัฒนาครั้งแรกโดย Almaden Research Center ของบริษัท IBM โดยมีชื่อเริ่มแรกว่า “ซีเควล” (Sequel) ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น “เอสคิวแอล” (SQL) หลังจากนั้นภาษาSQL ได้ถูกนำมาพัฒนาโดยผู้ผลิตซอฟต์แวร์ด้านระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จน เป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน โดยผู้ผลิตแต่ละรายก็พยายามที่จะพัฒนาระบบจัดการฐานข้อมูลของตนให้มีลักษณะ เด่นเฉพาะขึ้นมา ทำให้รูปแบบการใช้คำสั่ง SQL มีรูปแบบที่แตกต่างกันไปบ้าง เช่น Oracle Access SQL Base ของ Sybase Ingres หรือ SQL Server ของ Microsoft เป็นต้น ดังนั้นในปี ค.ศ. 1986 ทางด้าน American National Standards Institute (ANSI) จึงได้กำหนดมาตรฐานของ SQL ขึ้น อย่างไรก็ดี โปรแกรมฐานข้อมูลที่ขายในท้องตลาด ได้ขยาย SQL ออกไปจนเกินข้อกำหนดของ ANSI โดยเพิ่มคุณสมบัติอื่น ๆ ที่คิดว่าเป็นประโยชน์เข้าไปอีก แต่โดยหลักทั่วไปแล้วก็ยังปฏิบัติตามมาตรฐานของ ANSI ในการอธิบายคำสั่งต่าง ๆ ของภาษาSQL

 

1. ประเภทของคำสั่งในภาษา SQL

ภาษา SQL เป็นภาษาที่ใช้งานได้ตั้งแต่ระดับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลพีซีไปจนถึง ระดับเมนเฟรม ประเภทของคำสั่งในภาษา (SQL The Subdivision of SQL) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. ภาษาสำหรับการนิยามข้อมูล(Data Definition Language :DDL) ประกอบด้วยคำสั่งที่ใช้ในการกำหนดโครงสร้างข้อมูลว่ามีคอลัมน์อะไร แต่ละคอลัมน์เก็บข้อมูลประเภทใด รวมถึงการเพิ่มคอลัมน์การกำหนดดัชนี การกำหนดวิวหรือตารางเสมือนของผู้ใช้ เป็นต้น

2. ภาษาสำหรับการจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language :DML) ประกอบด้วยคำสั่งที่ใช้ในการเรียกใช้ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงข้อมูล การเพิ่มหรือลบข้อมูล เป็นต้น

3. ภาษาควบคุม (Data Control Language : DCL)ประกอบด้วยคำสั่งที่ใช้ในการควบคุมการเกิดภาวะพร้อมกัน หรือการป้องกันการเกิดเหตุการณ์ที่ใช้หลายคนเรียกใช้ข้อมูลพร้อมกัน และคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมความปลอดภัยของข้อมูลด้วยการกำหนดสิทธิ์ ของผู้ใช้ที่แตกต่าง เป็นต้น

2. ชนิดของข้อมูล (Data Type)

การใช้ชนิดข้อมูลได้อย่างถูกต้องในการสร้างฐานข้อมูลทำให้การจัดสรรการ ใช้ เนื้อที่หน่วยความจำได้อย่างมีประสิทธิภาพ หน่วยความจำนี้รวมถึงฮาร์ดดิสก์ด้วย ดังนั้น เราควรจะทำความรู้จักชนิดข้อมูลที่ใช้ในฐานข้อมูล SQL Server ก็จะมีความคล้ายคลึงกับชนิดข้อมูลของผู้ผลิตรายอื่น ๆ เพราะใช้มาตรฐาน ANSI เป็นต้นแบบในการผลิตแอพพลิเคชันฐานข้อมูล ซึ่งแบ่งเป็นชนิดของข้อมูล ดังนี้

2.1 Character

ชนิดข้อมูล
ขอบเขตของชนิดข้อมูล
ขนาดหน่วยความจำ (ไบต์)

Char[(n)]
1 - 8000
n

Varchar[(n)]
1 – 8000
ความยาวข้อมูล

Text
231-1(2,147,483,647) ตัวอักษร
16+Multiple of 2k

 

2.2 Binary

ชนิดข้อมูล
ขอบเขตของชนิดข้อมูล
ขนาดหน่วยความจำ (ไบต์)

Binary(n)
1 - 8000
n

Varbinary(n)
1 - 8000
n + 1

Image
231 -1(2,147,483,647) ไบต์
16+Multiple of 2k

Timestamp
ใช้สำหรับเปลี่ยนการจัดการ
16

2.3 Date

ชนิดข้อมูล
ขอบเขตของชนิดข้อมูล
ขนาดหน่วยความจำ (ไบต์)

Datetime
วันที่เริ่มต้นตั้งแต่ January 1,1753 ถึง December 31,9999 ความละเอียดถึง 1/1000 วินาที
8

Smalldetetime
วันที่เริ่มต้นตั้งแต่ January 1,1900 ถึง June 6,2079
4

2.4 Logical

ชนิดข้อมูล
ขอบเขตของชนิดข้อมูล
ขนาดหน่วยความจำ (ไบต์)

Bit
0 หรือ 1
1

 

2.5 Numeric

ชนิดข้อมูล
ขอบเขตของชนิดข้อมูล
ขนาดหน่วยความจำ (ไบต์)

Int
?2,147,483,647
4

Smallint
?32767
2

Tinyint
0 255
1

Float(p)

P (Precision) คือ การนับจำนวน รวมของเลขหน้าและหลังทศนิยม มีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 28

S (Scale) คือ จำนวนตัวเลขหลัง ทศนิยม
?1.79E+308
4 (Precision<16)

8(Precision>=16)

Double p
?2-3E+308
8

Real
?1.79E+308
4

Numeric(p,s)

Decimal(p,s)
?103
2 ถึง 17

Money
?$922,337,203,685,477.5807
8

Smallmoney
?214,748.3647
4

การสร้างกลุ่มใหม่ ของ SQL Server

ขั้นตอนที่ 1 คลิกปุ่ม Start/All Programs/ Microsoft SQL Server/ Enterprise Manager

คลิกขาวที่ Microsoft SQL Server เลือก New SQL Server Groups

 

 

ขั้นตอนที่ 2 ตั้งชื่อ ในที่นี้ใช้ “ex”เป็นต้นแล้วคลิก Ok เป็นอันเสร๊จ

 

 

 

การสร้าง Register ใน กลุ่มของ SQL Server

ขั้นตอนที่1 คลิกขวาที่ กลุ่มที่เราต้องการจะสร้าง แล้วเลือก New SQL Server Register….

 

 

ขั้นตอนที่ 2  คลิกปุ่ม Next

 

  ขั้นตอนที่ 3 กรอกชื่อ Server ที่เราต้องการ หากจะเครื่องของให้ใส่ “.”แปลว่า localhost
 แล้วคลิกปุ่ม Add จากนั้น Next

 

 

ขั้นตอนที่ 4 ติ๊กถูกในช่องด้านล่างเพื่อต้องการใช้ User แยกจาก ระบบวินโดส์ และเพื่อความปลอดภัย แล้ว Next

 

 

ขั้นตอนที่ 5 ใสUser ที่เราต้องการจะตั้ง และในช่อง Password  ให้เว้นว่างไว้ แล้ว Next เช่น “ex”

 

 

ขั้นตอนที่ 6 คลิกปุ่ม Next

 

 

ขั้นตอนสุดท้าย คลิกปุ่ม Finish เป็นอันเสร๊จ

 

 

การสร้าง Databast ให้ทำตามขั้นตอนดังภาพก่อน

ขั้นตอนที่ 1 คลิกขวาในพื้นที่ว่าง เลือก New Databast..

 

 

ขั้นตอนที่ 2 ตั้งชื่อ Databast ที่ต้องการ ในที่นี้ชื่อ “ex1” แล้วคลิก Ok เป็นอันเสร๊จ

 

 

การ Bakcup Databast นั้นๆ

ขั้นตอนที่ 1 คลิกที่ ดาต้าเบสที่ต้องจะ BackUp แล้วทำตามรูปด้านล่าง

 

ขั้นตอนที่ 2 คลิกปุ่ม Ok

 

การเปลี่ยน Password ของ SQL Server Groups ที่เราต้องการ

ขั้นตอนที่ 1 ไปที่ หมวด Security / Loging / ดับเบิ้ลคลิกแล้วเลือก กลุ่มที่เราต้องการแก้ไข

 

 

ขั้นตอนที่ 2 ดับเบิ้ลคลิกที่กลุ่มที่เราต้องการแก้ไข
แล้วทำการเปลี่ยน Password ที่เราต้องการแล้วคลิก Ok เป็นอันเสร๊จ

 

 

Query Analyzer
                Query Analyzer เป็นหน้าจอที่ใช้ป้อนและเอ็กซีคิวต์คำสั่ง Transact-SQL รวมทั้งแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการทำงานตามคำสั่งนั้นบนวินโดว์ การเรียกโปรแกรมนี้ทำได้ 2 วิธี คือ
วิธีที่ 1
                ที่ Enterprise Manager คลิกที่ Tools > SQL Server Query Analyzer จะสามารถเข้าสู่หน้าจอ Query Analyzer เลย โดยไม่ต้อง loginอีก ทั้งนี้ระบบถือว่าได้ loginครั้งหนึ่งแล้ว เมื่อเปิดใช้ Enterprise Manager

 

 

 

 

วิธีที่ 2
              1.   คลิกที่ปุ่ม Start เลือก Programs > Microsoft SQL Server 2000 > Query Analyze

 

 

  1. กำหนดรายละเอียดในหน้าจอ Connect to SQL Server
  •  
    •  
      •  
        • SQL Server ให้ระบุชื่อของเซิร์ฟเวอร์ที่จะทำงานด้วย
        • Start SQL Server If Stopped ให้สตาร์ทเซอร์วิส MSSQL Server ถ้าเซอร์วิสยังไม่สตาร์ท
        • Connection Information ในที่นี้ให้คลิกที่ Use SQL Authentication แล้วเติม Login Name และ Password ในที่นี้เมื่อเริ่มต้นใช้งานจะมีเพียงยูสเซอร์ชื่อ ex เท่านั้น

 

 

 

การสร้างกลุ่มใหม่ ของ SQL Server

ขั้นตอนที่ 1 คลิกปุ่ม Start/All Programs/ Microsoft SQL Server/ Enterprise Manager

คลิกขาวที่ Microsoft SQL Server เลือก New SQL Server Groups

 

 

ขั้นตอนที่ 2 ตั้งชื่อ ในที่นี้ใช้ “ex”เป็นต้นแล้วคลิก Ok เป็นอันเสร๊จ

 

 

 

 

การสร้าง Register ใน กลุ่มของ SQL Server

ขั้นตอนที่1 คลิกขวาที่ กลุ่มที่เราต้องการจะสร้าง แล้วเลือก New SQL Server Register….

 

  ขั้นตอนที่ 2  คลิกปุ่ม Next

 

  ขั้นตอนที่ 3 กรอกชื่อ Server ที่เราต้องการ หากจะเครื่องของให้ใส่ “.”แปลว่า localhost
 แล้วคลิกปุ่ม Add จากนั้น Next

 

 

ขั้นตอนที่ 4 ติ๊กถูกในช่องด้านล่างเพื่อต้องการใช้ User แยกจาก ระบบวินโดส์ และเพื่อความปลอดภัย แล้ว Next

 

 

ขั้นตอนที่ 5 ใสUser ที่เราต้องการจะตั้ง และในช่อง Password  ให้เว้นว่างไว้ แล้ว Next เช่น “ex”

 

  ขั้นตอนที่ 6 คลิกปุ่ม Next

 

ขั้นตอนสุดท้าย คลิกปุ่ม Finish เป็นอันเสร๊จ

 

 

การสร้าง Databast ให้ทำตามขั้นตอนดังภาพก่อน

ขั้นตอนที่ 1 คลิกขวาในพื้นที่ว่าง เลือก New Databast..

 

 

ขั้นตอนที่ 2 ตั้งชื่อ Databast ที่ต้องการ ในที่นี้ชื่อ “ex1” แล้วคลิก Ok เป็นอันเสร๊จ

 

 

การ Bakcup Databast นั้นๆ

ขั้นตอนที่ 1 คลิกที่ ดาต้าเบสที่ต้องจะ BackUp แล้วทำตามรูปด้านล่าง

 

ขั้นตอนที่ 2 คลิกปุ่ม Ok

 

การเปลี่ยน Password ของ SQL Server Groups ที่เราต้องการ

ขั้นตอนที่ 1 ไปที่ หมวด Security / Loging / ดับเบิ้ลคลิกแล้วเลือก กลุ่มที่เราต้องการแก้ไข

 

 

ขั้นตอนที่ 2 ดับเบิ้ลคลิกที่กลุ่มที่เราต้องการแก้ไข
แล้วทำการเปลี่ยน Password ที่เราต้องการแล้วคลิก Ok เป็นอันเสร๊จ

 

 

Query Analyzer
                Query Analyzer เป็นหน้าจอที่ใช้ป้อนและเอ็กซีคิวต์คำสั่ง Transact-SQL รวมทั้งแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการทำงานตามคำสั่งนั้นบนวินโดว์ การเรียกโปรแกรมนี้ทำได้ 2 วิธี คือ
วิธีที่ 1
                ที่ Enterprise Manager คลิกที่ Tools > SQL Server Query Analyzer จะสามารถเข้าสู่หน้าจอ Query Analyzer เลย โดยไม่ต้อง loginอีก ทั้งนี้ระบบถือว่าได้ loginครั้งหนึ่งแล้ว เมื่อเปิดใช้ Enterprise Manager

 

 

 

วิธีที่ 2
              1.   คลิกที่ปุ่ม Start เลือก Programs > Microsoft SQL Server 2000 > Query Analyze

 

 

 

  1. กำหนดรายละเอียดในหน้าจอ Connect to SQL Server
  •  
    •  
      •  
        • SQL Server ให้ระบุชื่อของเซิร์ฟเวอร์ที่จะทำงานด้วย
        • Start SQL Server If Stopped ให้สตาร์ทเซอร์วิส MSSQL Server ถ้าเซอร์วิสยังไม่สตาร์ท
        • Connection Information ในที่นี้ให้คลิกที่ Use SQL Authentication แล้วเติม Login Name และ Password ในที่นี้เมื่อเริ่มต้นใช้งานจะมีเพียงยูสเซอร์ชื่อ ex เท่านั้น