แบบฝึกหัด
แบบทดสอบกลางภาค หน่วยที่ 1 – 4
1. ข้อใดคือความหมายความปลอดภัย
ก. การพ้นภัย ข. การหลีกเลี่ยง
ค. ไม่ตั้งใจให้เกิดขึ้น ง. สามารถควบคุมได้
2. ความปลอดภัยตามหลักอาชีวอนามัยคือข้อใด
ก. ศิลปะที่เกี่ยวกับการป้องกันภัย
ข. ส่งเสริม คุ้มครองผู้ประกอบอาชีพให้มีความสมบูรณ์
ค. ความปลอดภัยในงานอาชีพที่ถูกสุขอนามัย
ง. ความปลอดภัยในการทำงาน โดยคำนึงถึงผู้ทำงานจากมลพิษต่าง ๆ
3. มลพิษสิ่งแวดล้อมด้านกายภาพได้แก่ข้อใด
ก. ฝุ่น ข. ผื่น
ค. เสียง ง. เครื่องมือชำรุด
4. ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 บังคับให้ที่ทำความสะอาดร่างกายอย่างน้อยกี่คนต่อห้อง
ก. 5 ข. 10
ค. 15 ง. 20
5. ข้อใดคือกฎโรงงาน
ก. ห้ามใช้ไม้ขีดไฟจุดเปลวไฟ
ข. จัดระบบแสงสว่างให้เพียงพอ
ค. ติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิงในที่หยิบได้ง่าย
ง. หลังปฏิบัติงานต้องเก็บเครื่องมือทำความสะอาดพื้นและเครื่องจักร
6. ความดังของเสียงเครื่องตัดไฟเบอร์มีความดังเท่าไร
ก. 60 ข. 120 ค. 90 ง. 150
7. ถังบรรจุแก๊สออกซิเจนมีความหนาเท่าใด
ก.
8. ปลักซ์ที่ติดอยู่บนถังแก๊สอะเซตทิลีนจะหลอมละลายที่อุณหภูมิเท่าใดเพื่อป้องกันการระเบิดของท่อ
ก. 37 – 47 ข. 57 – 67 ค. 47 – 57 ง. 67 ขึ้นไป
9. ถังบรรจุออกซิเจนมีความดันแก๊สเท่าใดเมื่อบรรจุเต็มถัง
ก. 250 ข. 1100 ค. 500 ง. 2200
10. อุปกรณ์ในข้อใดที่มีไว้สำหรับการทำความสะอาดหัวทิพ
ก. Tip Cleaner ข. Torch
ค. Spark Lighter ง. Goggles
11. ข้อใดคือคุณสมบัติของแก๊สอะเซตทิลีน
ก. ไม่มีกลิ่น ข. น้ำหนักเบากว่าอากาศ
ค. ไม่มีรส ง. มีอยู่ในบรรยากาศ 21%
12. ข้อใดคือสัญลักษณ์ทางเคมีของแก๊สอะเซตทิลีน
ก. CO2 ข. C2 H2
ค. C2 O2 ง. H2 O
13. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. ณ อุณหภูมิ 195.7° C ไนโตรเจนเหลวจะระเหยเป็นแก๊ส
ข. ณ อุณหภูมิ 195.7° C ออกซิเจนเหลวจะระเหยเป็นแก๊ส
ค. ณ อุณหภูมิ 197.5° C ไนโตรเจนเหลวจะระเหยเป็นแก๊ส
ง. ณ อุณหภูมิ 197.5° C ไนโตรเจนเหลวจะระเหยเป็นแก๊ส
14. อะเซตทิลีนสามารถละลายในอะซิโตนได้ในปริมาณเท่าใด
ก. 1 : 1 ข. 200 : 1
ค. 100 : 1 ง. 300 : 1
15. การผลิตแก๊สอะเซตทิลีนแบบดั้งเดิมใช้สารชนิดใดผสมกับน้ำ
ก. แคลเซียม ข. ซัลฟูลิคเอซิด
ค. แคลเซียมคาร์ไบด์ ง. คาร์ฟูออไรด์
16. การเชื่อมแก๊สลักษณะ Backhand จะเชื่อมงานที่มีความหนาเท่าใด
ก.
ค. 2 มม. ง.
17. ลักษณะรอยต่อพื้นฐานมีกี่แบบ
ก. 2 แบบ ข. 4 แบบ
ค. 3 แบบ ง. 5 แบบ
18. ข้อใดคือการเชื่อม Vertical Position
ก. งานราบกับพื้น ข. แนวเชื่อมอยู่ในแนวดิ่ง
ค. แนวเชื่อมขนานกับพื้น ง. แนวเชื่อมอยู่เหนือศีรษะ
19. ในการเชื่อมงานบางควรใช้วิธีการเชื่อมแบบใด
ก. Back hand ข. Groove Weld
ค. Fore hand ง. Fillet Weld
20. ท่าเชื่อมท่าใดเชื่อมง่ายที่สุด
ก. ท่าราบ ข. ท่าตั้งขึ้น – ลง
ค. ท่าขนานนอน ง. ท่าเหนือศีรษะ
21. การตัดโลหะด้วยแก๊สหมายถึงข้อใด
ก. การตัดโลหะด้วยเปลวไฟแก๊ส
ข. การตัดด้วยแรงดันแก๊สออกซิเจน
ค. การตัดโลหะด้วยแรงดันแก๊สอะเซตทิลีน
ง. การตัดโลหะโดยการใช้หัวตัดแก๊สชนิดแรงดันสูง
22. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์การตัดด้วยแก๊ส
ก. ลวดเชื่อมแก๊ส ข. ด้ามจับ
ค. หัวทิพ ง. เครื่องควบคุม
23. ในการตัดโลหะด้วยแก๊สหากตัดไปได้ระยะหนึ่งแล้วไม่ขาดเกิดจากสาเหตุในข้อใด
ก. เคลื่อนหัวตัดเร็วเกินไป ข. เคลื่อนหัวตัดช้าเกินไป
ค. อุ่นงานนานเกินไป ง. แรงดันแก๊สมากเกินไป
24. Brazing หมายถึงข้อใด
ก. การตัดเหล็กด้วยแก๊ส
ข. การเชื่อมแก๊สด้วยแก๊สแรงดันสูง
ค. การเชื่อมโดยการละลายลวดเชื่อมแทรกระหว่างชิ้นงาน
ง. การเชื่อมให้โลหะติดกันโดยใช้แรงดันช่วยกดชิ้นงาน
25. ลวดเชื่อมทองเหลืองมีส่วนผสมในข้อใด
ก. ทองแดง, สังกะสี ข. ทองแดง, เงิน
ค. ทองแดง, เงิน, ดีบุก ง. ทองแดง, สังกะสี, ดีบุก
26. ลวดเชื่อมเงินมีส่วนผสมในข้อใด
ก. ทองแดง, สังกะสี ข. ทองแดง, เงิน
ค. ทองแดง, เงิน, ดีบุก ง. ทองแดง, สังกะสี, ดีบุก
27. ลวดเชื่อมที่ใช้ในการเชื่อมท่อทองแดงเครื่องปรับอากาศคือลวดเชื่อมชนิดใด
ก. ลวดเชื่อมทองแดง ข. ลวดเชื่อมเงิน
ค. ลวดเชื่อมทองเหลือง ง. ลวดเชื่อมสแตนเลส
28. ฟลักซ์ที่ใช้ในการเชื่อมแล่นประสานคือฟลักซ์ชนิดใด
ก. โบแลค ข. เซลลูโลส
ค. ไทเทเนียม ง. กรดซัลฟูลิค
29. ลักษณะรอยต่อแบบใดที่แล่นประสานได้ดีที่สุด
ก. ต่อชน ข. ต่อเกย
ค. ต่อตัวที ง. ต่อขอบ
30. เหตุใดจึงเลือกใช้ลวดเชื่อมเงินแทนที่จะใช้ลวดเชื่อมทองเหลืองในการแล่นประสานท่อทองแดง
ก. เงินละลายเข้ากับทองแดงได้ดี
ข. เงินมีความสามารถเชื่อมโลหะต่างชนิด
ค. เงินจุดหลอมละลายที่ต่ำกว่าทองเหลือง
ง. เงินมีจุดหลอมละลายสูงกว่าลวดเชื่อมทองเหลือง
- การที่กฏโรงงานที่กล่าวถึงความปลอดภัยโดยห้ามมองแสงด้วยตาเปล่า เพราะเหตุใด
ก. อันตรายจากรังสีอินฟราเรด
ข. อันตรายจากรังสีอัลตราไวโอเลต
ค. ทำให้ตาบอดสนิท
ง. ผิดกฏโรงงาน
- Electrode Holder คือข้อใด
ก. สายเชื่อม
ข. แปรงลวด
ค. หน้ากากเชื่อม
ง. หัวจับลวดเชื่อม
- เครื่องเชื่อมแบบ AC คือ ข้อใด
ก. Amp Current
ข. Alternating Current
ค. Auto Current
ง. Alternating Camp
- เครื่องเชื่อมไฟฟ้าแบบ AC มีหลักการทำงานอย่างไร
ก. หม้อแปลงไฟฟ้า
ข. เครื่องปั่นไฟ
ค. อิเล็กทรอนิกส์คอนโทรล
ง. เรคติไฟร์เออร์
- เครื่องเชื่อมกระแสสลับสามารถเปลี่ยนเป็นกระแสตรงโดยวิธีใด
ก. หม้อแปลงไฟฟ้า
ข. เครื่องปั่นไฟ
ค. อิเล็กทรอนิกส์คอนโทรล
ง. เรคติไฟร์เออร์
- Duty Cycle คือตัวบ่งบอกอะไรของเครื่องเชื่อม
ก. บริษัทผู้ผลิต
ข. ชนิดขดลวดที่พัน
ค. ความสามารถในการเชื่อมใต้น้ำ
ง. ความสามารถในการเชื่อมและหยุดพัก
- เครื่องเชื่อมที่สามารถเสียบปลั๊กซ์เหมือนเครื่องใช้ไฟฟ้าคือเครื่องเชื่อมแบบใด
ก. Inverter
ข. Dirrect Curent
ค. Engine Drive
ง. Motor Generator
- ในการเชื่อมใต้น้ำผู้ปฏิบัติงานอาจเกิดอันตรายได้ในข้อใด
ก. ปวดหู
ข. เป็นลมชัก
ค. ปวดศีรษะและดวงตา
ง. ผิวหนังแห้งและเหี่ยวย่น
- แสงจากรังสีอินฟราเรด ทำให้เกิดอันตรายในข้อใด
ก. ดวงตาพร่ามัว
ข. ผิวหนังไหม้และตาเป็นต้อ
ค. ผิวหนังแห้ง เหี่ยวย่น เยื่อบุตาอักเสบ
ง. ปวดระคายเคือง หอบง่าย ไอเรื้อรัง มะเร็งปอด
- ลวดเชื่อมแบบฟลั๊กซ์คอร์วาย (Flux Core Wire)คือลวดเชื่อมในข้อใด
ก. ธูปเชื่อม
ข. ลวดเชื่อมเปลือย
ค. ลวดเลื่อมเปลือยเป็นม้วน
ง. ลวดเชื่อมที่มีแกนกลางกลวงมีฟลักซ์อยู่ภายในเป็นม้วน